1 / 21

โดย ว่าที่ร้อยตรีนรินทร์ แขมพิมาย ส่วนพัฒนาศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี

ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การใช้กลไกศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ในการดำเนินงานโครงการและภารกิจของ กรมส่งเสริมการเกษตร (แก้ไขปัญหาความยากจน). โดย ว่าที่ร้อยตรีนรินทร์ แขมพิมาย ส่วนพัฒนาศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี. ความเป็นมา.

Télécharger la présentation

โดย ว่าที่ร้อยตรีนรินทร์ แขมพิมาย ส่วนพัฒนาศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การใช้กลไกศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีในการดำเนินงานโครงการและภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร(แก้ไขปัญหาความยากจน) โดย ว่าที่ร้อยตรีนรินทร์ แขมพิมาย ส่วนพัฒนาศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี

  2. ความเป็นมา • 21 พ.ย. 43 มติครม. เห็นชอบหลักการโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีชุมชน • ตั้งศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร - ยึดอาชีพเกษตรกร • ปัจจุบันมี 7,105 ศูนย์

  3. องค์ประกอบของศูนย์ • ที่ทำการศูนย์ แสดงข้อมูล / ถ่ายทอดความรู้ • คณะกรรมการบริหารศูนย์ การสรรหาตามหนังสือที่ กษ 1009/ว.471 ลงวันที่ 17 เม.ย. 46 นวส.เป็นเลขาศูนย์ • แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล • จุดสาธิต/จุดถ่ายทอดความรู้ วิทยากรเกษตรกร • เกษตรกรผู้นำ,อาสาเกษตรและสมาชิกศูนย์

  4. สรุปขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์บริการฯ 6 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อมชุมชน ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติงานตามแผน ขั้นตอนที่ 4 การจดทะเบียนและให้บริการ ขั้นตอนที่ 5 การจัดตั้งศูนย์บริการด้านการเกษตร (คลินิกเกษตร) ขั้นตอนที่ 6 การค้าขายทางอิเล็คทรอนิก

  5. การให้บริการของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรการให้บริการของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เน้นการบูรณาการหน่วยงานภาครัฐ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ลงสู่พื้นที่ “โดยยึดปัญหาของชุมชน (เกษตรกร) เป็นหลักเพื่อให้เกิดการบริการ ณ จุดเดียว”

  6. การดำเนินการโดยใช้ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกดำเนินงาน • ภาครัฐ 1. การส่งข้อมูลข่าวสารจากโครงการสู่จังหวัด (โดยสื่อต่างๆ) 2. จังหวัด (คณะทำงาน) บูรณาการ ส่งอำเภอ ศูนย์บริการฯ และ อปท. ทราบ 3. คณะกรรมการศูนย์บริการฯ จัดประชุมประจำเดือน 4. คณะกรรมการศูนย์ (โดยการสนับสนุนจากอำเภอ+อปท.) ประชาสัมพันธ์สู่ชุมชน (ต่อ)

  7. การดำเนินการโดยใช้ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกดำเนินงาน (ต่อ) 5. กรรมการศูนย์ร่วมกับ กม.จัดเวทีชุมชน/ประชาคม - เสนอปัญหาความต้องการ - แผนหมู่บ้าน / แผนตำบล - เสนอความต้องการ (แผน) ต่อ อปท.และอำเภอ 6. อำเภอรวบรวมความต้องการ (แผน) เสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง, จังหวัด 7. จังหวัดสรุปเสนอหน่วยงานอื่นและCEO 8. กรรมการศูนย์แจ้งเกษตรกรเป้าหมาย / คัดเลือกเกษตรกรร่วมโครงการ

  8. การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยกลไกศูนย์บริการฯการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยกลไกศูนย์บริการฯ 1. คณะกรรมการศูนย์จัดทำทะเบียน / ข้อมูลครัวเรือนเกษตรกร 2. คณะกรรมการศูนย์จัดเวทีชุมชน 3. การกำหนดประเด็นปัญหาและความต้องการ (แผนครัวเรือน / แผนชุมชน) 4. การปฏิบัติงานตามแผน 5. การติดตาม / เยี่ยมเยียนเกษตรกรในหมู่บ้านยากจน รายละเอียด

  9. การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยขบวนการในการเรียนรู้และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยขบวนการในการเรียนรู้และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา 1. คณะกรรมการศูนย์จัดทำข้อมูลรายครัวเรือนเกษตรกรลงทะเบียนคนจน 2. คณะกรรมการศูนย์จัดเวทีชุมชนในหมู่บ้านยากจน (ตามบัญชีเป้าหมาย) ประมาณ 30-50 คน - ผู้นำ - เกษตรกรที่ลงทะเบียน - อาสาสมัคร - กลุ่มอาชีพ ฯลฯ (ต่อ)

  10. 3. ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร กลุ่มอาชีพ เสนอข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อ * วิเคราะห์ศักยภาพครัวเรือน * แลกเปลี่ยนเรียนรู้ * กำหนดปัญหา * เสนอทางเลือกแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหาความยากจนฯ (ต่อ) (ต่อ)

  11. การแก้ไขปัญหาความยากจนฯ (ต่อ) 4. สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการในการเรียนรู้ของเกษตรกร (แผนชุมชน) 1) การถ่ายทอดเทคโนโลยี / การเรียนรู้ 2) การดำเนินการกิจกรรมแก้ไขความยากจนตามองค์ความรู้ * แนวเศรษฐกิจพอเพียง (ลดรายจ่าย, เพิ่มรายได้, ขยายโอกาส) * ลงทุน / สร้างรายได้ (ต่อ)

  12. การแก้ไขปัญหาความยากจนฯ (ต่อ) 5. การปฏิบัติงานตามแผน * เกษตรกรเป้าหมายได้รับความช่วยเหลือ * ภาครัฐสนับสนุนวิชาการ * อปท. สนับสนุนงบประมาณ 6. ติดตามและประเมินรายได้ของเกษตรกร (รายสัปดาห์ / ปักษ์) * เยี่ยมเยียนให้คำแนะนำ / แก้ไขปัญหา * จุดนัดพบ * ติดตามการปฏิบัติงาน * ประเมินรายได้หลังจากที่ได้รับขบวนการเรียนรู้ (ต่อ)

  13. กรมส่งเสริมการเกษตร แหล่งงบประมาณ จังหวัด (ศตจ. จังหวัด) CEO/อบจ. แผนระดับจังหวัด ส่วนราชการต่างๆ เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ แผนระดับอำเภอ อำเภอ (ศตจ. อำเภอ) ส่วนราชการต่างๆ / ธกส. เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ ตำบล (ศตจ. ตำบล) แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล อปท. (แผนท้องถิ่น) เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ หมู่บ้าน/ชุมชนยากจน (กม.) แผนชุมชน (แผนรายครัวเรือน)

  14. กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ CEO/อบจ. จังหวัด (ศตจ. จังหวัด) แผนฯระดับจังหวัด ส่วนราชการต่างๆ เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ แผนฯระดับอำเภอ (ต่อ)

  15. กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ อำเภอ (ศตจ. อำเภอ) แผนฯระดับอำเภอ ส่วนราชการต่างๆ /ธกส. เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล (ต่อ)

  16. กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล ตำบล (ศตจ.) อปท. (แผนท้องถิ่น) เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ หมู่บ้าน/ชุมชนยากจน (กรรมการหมู่บ้าน) แผนชุมชน (แผนรายครัวเรือน)

  17. แผนชุมชน (แผนรายครัวเรือน) หมู่บ้าน/ชุมชนยากจน (กรรมการหมู่บ้าน) การดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจน ขั้นตอนที่ 2 (FamilyPlan) ขั้นตอนที่ 1 (Family Folder) 1. วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหา ความต้องการของเกษตรกรและ ครัวเรือน 2. จัดทำเวทีชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของเกษตรกรในชุมชน 3. จัดทำความต้องการ (Need) ของ ชุมชน, แผนรายครัวเรือน 4. จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรหมู่บ้าน 1. จัดทำข้อมูลของครัวเรือน

  18. บทสรุป บทบาท ของกรรมการบริหารศูนย์ * การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรครัวเรือนยากจน * วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผนพัฒนาการเกษตร * จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / โรงเรียนเกษตรกร * สรุปปัญหาและความต้องการของเกษตรกรยากจน * เยี่ยมเยียน ติดตามให้คำแนะนำและรับเรื่องจากเกษตรกร * ให้บริการเอกสารคำแนะนำการประกอบอาชีพ

  19. เลขานุการศูนย์ / นวส. อำเภอ * เป็นวิทยากรบรรยายความรู้ * เป็นวิทยากรกระบวนการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ขบวนการในการ เรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา * จัดโรงเรียนถ่ายทอดความรู้ / ประสานงานหน่วยงานต่างๆ * ให้คำแนะนำ / ปรึกษาด้านการเกษตรและบริการข้อมูลวิชาการ * เยี่ยมเยียนเกษตรกรตามแผนเยี่ยม

  20. อปท. * สนับสนุนงบประมาณศูนย์บริการฯ ตามหนังสือกรมการปกครองท้องถิ่น ที่มท. 0810.2/ว 6628 ลงวันที่ 2 ก.ย. 2546 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัด * กรมฯ แจ้งจังหวัด หนังสือที่ กษ 1009/ว 1441 ลงวันที่ 24 ก.ย. 2546

  21. สวัสดี

More Related