1 / 52

สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

แนวทางการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ปี 2555. การจัดตั้งสถาบัน.... การจัดการเงินทุนชุมชน. สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน. Road Map การดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 2555.

isla
Télécharger la présentation

สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนปี 2555 การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  2. Road Map การดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 2555 ระดับกรมฯ :จัดทำแนวทางการจัดตั้งฯ/ จัดสรรงบประมาณ/ จัดเตรียมสื่อสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนต้นแบบ /ทำความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งสถาบันฯ (ประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกองทุนชุมชนเพื่อจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน)ระดับจังหวัด/อำเภอ :คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย /จัดทำฐานข้อมูลกองทุนในหมู่บ้านเป้าหมาย /เตรียมรายชื่อกลุ่มองค์กร ผู้นำกองทุนหมู่บ้านเป้าหมาย/ประสานภาคีการพัฒนา/เผยแพร่แนวคิด การเตรียมการ การจัดตั้งสถาบันฯ ระดับจังหวัด/อำเภอ : ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนกองทุนชุมชนเพื่อส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน (ประชุมสร้างความรู้ ความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย / วางแผนการขับเคลื่อนสถาบันฯ /เตรียมพร้อมเปิดสถาบันฯ/ทดลองเปิดสถาบัน รายงานและสรุปผลการจัดตั้งสถาบันฯ ระดับจังหวัด/อำเภอ : 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน2. จัดกิจกรรมสาธิตการขับเคลื่อนจัดกิจกรรมสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ไขปัญหาความยากจน การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ระดับกรม: 1.จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ไขปัญหาความยากจน2. จัดแสดงผลงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ไขปัญหาความยากจนระดับจังหวัด อำเภอ : ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานและจัดเตรียมผลการดำเนินงานสถาบันฯในการจัดแสดงผลงานที่กรมฯจัดขึ้น การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ติดตามและประเมินผล ระดับกรม: 1.จัดทำสรุปผลการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 2. จัดทำฐานข้อมูลทะเบียนคณะกรรมการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 3. ออกติดตามผลการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เขตละ 1 แห่ง 4.ติดตามการรายงานผ่านศูนย์ข้อมูลกลางระดับจังหวัด อำเภอ : 1. ออกติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันฯ 2. รายงานผลการจัดตั้งสถาบันฯตามลำดับ 3.รายงานฐานข้อมูลกลาง

  3. ความหมาย สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน คือ สถาบันทางเศรษฐกิจฐานรากที่จัดตั้งขึ้นจากการบูรณาการเชื่อมโยงการบริหารจัดการของกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินต่าง ๆ ร่วมกันบริหารจัดการเงินทุนในชุมชนเพื่อให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  4. วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ และใช้ประโยชน์จากเงินทุนชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการบูรณาการด้านการบริหารจัดการร่วมกันอย่างเป็นระบบ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  5. เป้าหมาย เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชน มีการบริหารจัดการกองทุนและเงินทุนในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  6. หน้าที่หลัก จัดระบบการบริหารจัดการกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินในหมู่บ้าน/ชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกกองทุนและชุมชน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  7. ประโยชน์ 1. กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินในหมู่บ้าน/ชุมชนมีการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง- ร่วมกันบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน - ป้องกันการสูญหาย 2. การบริหารจัดการกองทุนชุมชนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล- แก้ไขปัญหาความยากจน(ปรับโครงสร้างหนี้) - ชุมชนมีการจัดสวัสดิการ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  8. ที่มา กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มผู้ใช้น้ำ กองทุน กทบ. สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน องค์กรสตรี กองทุน กข.คจ. กองทุนกลุ่มอาชีพ กลุ่มผลิตน้ำดื่ม กลุ่มกองทุนต่างๆ ในชุมชน หมายเหตุ : ทุกกลุ่มที่เป็นสมาชิกยังคงดำเนินกิจกรรมของตนเอง การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  9. ขั้นตอนการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนขั้นตอนการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  10. ขั้นตอนที่ 1 เผยแพร่แนวคิด แนวทางการดำเนินงาน สร้างความรู้ ความเข้าใจ แก่1.ประธานกลุ่ม/กรรมการ/ผู้แทนองค์กรกองทุนชุมชน2.ผู้นำชุมชน/ผู้ทรงคุณวุฒิ3.ภาคีการพัฒนาในแนวทางการจัดตั้งสถาบันฯ ไปในทิศทางเดียวกัน 1.การจัดเวทีประชาคมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้2.การพูดคุยกลุ่มย่อย/การใช้หอกระจายข่าว3.การยกตัวอย่าง4.การใช้สื่อ วีดิโอ แผ่นพับ อื่นๆ ฯลฯ โดย การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  11. ขั้นตอนที่ 2 สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลกองทุนชุมชน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  12. ขั้นตอนที่ 3 ประชุม เตรียมการ/วางแผนการจัดตั้งฯ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  13. ขั้นตอนที่ 4 จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จัดประชุม1. ประธานกลุ่ม/กรรมการ/ผู้แทนองค์กรกองทุนชุมชนที่ได้รับมอบอำนาจเป็นผู้แทนกลุ่มสมัครเป็นสมาชิก2. ผู้นำชุมชน3. ผู้ทรงคุณวุฒิ4. ภาคีการพัฒนา 1.คัดเลือกคณะกรรมการบริหาร2.จัดทำร่างระเบียบข้อบังคับ3.จัดทำแผนและกำหนดการจัดทำกิจกรรมของสถาบันฯ4.จัดเตรียมสถานที่ เอกสาร สื่อต่างๆที่จะใช้ในการดำเนินงาน5.เพิ่มทักษะคณะกรรมการบริหารฯ เตรียมคน และดำเนินกิจกรรม เพื่อ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  14. ที่มาของเงินทุนสถาบันฯที่มาของเงินทุนสถาบันฯ 1. การรวมเงินทุนหรือเงินลงหุ้นของกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินที่เป็นสมาชิก2. การสนับสนุนจากหน่วยงาน/องค์กร ภาคราชการ เอกชน NGOs3. การได้รับบริจาค 4. การกู้จากแหล่งทุนอื่น ๆ เช่น สถาบันการเงิน (ธนาคาร) การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  15. ด้านกรรมการ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  16. โครงสร้างคณะกรรมการบริหารฯโครงสร้างคณะกรรมการบริหารฯ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  17. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารฯบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารฯ 1 1. กำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันฯ2. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดระเบียบการบริหารจัดการกองทุนและเงินทุน ในชุมชน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด3. ส่งเสริมกองทุนชุมชน ให้มีการบูรณาการการบริหารจัดการ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ4. ประสานงานกับสถาบันการเงิน และหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อร่วมกันพัฒนากองทุนชุมชน5. ส่งเสริมความรู้และทักษะ ในด้านการบริหารจัดการกองทุน และดำเนินกิจกรรมด้านต่าง ๆ เพื่อให้กองทุนในชุมชนมีความเข้มแข็ง การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  18. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารฯบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารฯ 2 6. กำกับ ดูแล และควบคุมการดำเนินงานของสถาบันฯให้เป็น ไปตามวัตถุประสงค์และมติที่ประชุมสถาบันฯ7. ดำเนินกิจกรรมของสถาบันฯ ให้เจริญก้าวหน้าและเป็นไปตาม ระเบียบข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง8. ดูแลรักษาทรัพย์สินของสถาบันฯ9. จัดทำ งบดุล – กำไรขาดทุนประจำปี10. จัดทำร่างระเบียบข้อบังคับสถาบันฯ เสนอต่อที่ประชุมสมาชิก11. จัดประชุมตามที่กำหนดในระเบียบการดำเนินงานของสถาบันฯ12. ดำเนินการอื่นตามมติของสมาชิก การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  19. ด้านสมาชิก ต้องการให้ทุกกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินในหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นสมาชิกสถาบันฯโดยขึ้นอยู่กับความพร้อมและความสมัครใจ 1.กองทุนที่เกิดจากความร่วมมือของประชาชนดำเนินการก่อตั้ง เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มอาชีพฯลฯ 2. กองทุนที่เกิดจากการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ เอกชน ฯลฯเช่น กข.คจ. , กทบ. ฯลฯ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  20. ด้านระเบียบข้อบังคับ - กำหนดให้มีรายละเอียดการบริหารจัดการที่ครอบคลุม การดำเนินงานกองทุนทุกกองทุน- ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร กองทุนต่าง ๆ ในชุมชน- มอบให้กองทุนในชุมชนนำไปใช้ประกอบเป็นแนวทาง ในการบริหารจัดการกองทุนของตนเอง การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  21. ด้านระเบียบข้อบังคับ 1 สาระสำคัญ .. ประกอบด้วย.. หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไปหมวดที่ 2 วัตถุประสงค์หมวดที่ 3 สมาชิกสภาพ ค่าสมัคร ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุงหมวดที่ 4 โครงสร้างคณะกรรมการบริหารสถาบันฯหมวดที่ 5 ที่ปรึกษาสถาบันฯหมวดที่ 6 กิจกรรมของสถาบันฯ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  22. ด้านระเบียบข้อบังคับ 2 สาระสำคัญ .. ประกอบด้วย.. หมวดที่ 7 การประชุมของสถาบันฯหมวดที่ 8 การเงินและบัญชีของสถาบันฯหมวดที่ 9 การตรวจสอบสถานะทางการเงินของสถาบันฯหมวดที่ 10 การแก้ไขระเบียบข้อบังคับของสถาบันฯหมวดที่ 11 การยกเลิกสถาบันฯ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  23. ขั้นตอนการจัดทำระเบียบข้อบังคับสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนขั้นตอนการจัดทำระเบียบข้อบังคับสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  24. ด้านกิจกรรม - เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกองทุน ที่เป็นสมาชิก - ทำกิจกรรมที่สมาชิกไม่ได้ดำเนินการหรือ ดำเนินการแล้วแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  25. แนวทางจัดกิจกรรม 1.สำรวจความต้องการจะทำกิจกรรมของสมาชิก2. สำรวจ/วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของกิจรรม3. จัดเวทีประชาคม ระดมความคิดเห็น4. กำหนดแนวทาง ขั้นตอนการดำเนินงานของกิจกรรม5. จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถาบันฯ6. ดำเนินงานกิจกรรมตามแผนฯ7. ติดตามและประเมินผลความก้าวหน้า 8. สรุปรวบรวม ปัญหาอุปสรรคเสนอต่อที่ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  26. ตัวอย่างกิจกรรม 1. การให้บริการกู้ยืมเงินแก่สมาชิก(กลุ่ม)2. การปรับเปลี่ยนสัญญากู้ยืมของสมาชิก3. การโอนภาระหนี้สินระหว่างกองทุนสมาชิก4. การทำข้อตกลงระหว่างกองทุนเพื่อดำเนินกิจกรรมร่วมกัน5. การให้บริการด้านการเงิน จัดทำบัญชีงบดุล6. การให้บริการด้านการปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน7. การให้บริการด้านระเบียบ กฎหมาย 1 การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  27. ตัวอย่างกิจกรรม 2 8. การให้บริการด้านการติดตาม เร่งรัดหนี้สินของสมาชิก9. บริการด้านส่งเสริมพัฒนาอาชีพ10. บริการด้านฝึกอบรม ประชุมสัมมนา ศึกษาดูงานแก่สมาชิก11. การจัดสวัสดิการชุมชน12. การลงทุนประกอบธุรกิจด้านต่าง ๆ13. การร่วมลงทุนกับสมาชิกในการดำเนินธุรกิจต่าง ๆ14. อื่น ๆ ตามที่สมาชิกต้องการ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  28. รายได้ของสถาบันฯ 1. ดอกผลจากการให้สมาชิกกู้ยืม2. ค่าธรรมเนียม ค่าสมัครจากสมาชิก3. รายได้จากการจัดกิจรรมให้บริการแก่สมาชิก4. อื่น ๆ ตามที่สถาบันฯ กำหนด การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  29. การประชุม เพื่อทราบความก้าวหน้าและการเคลื่อนไหวในการดำเนินงาน มี 3 ประเภท การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  30. การประชุม เพื่อทราบความก้าวหน้าและการเคลื่อนไหวในการดำเนินงาน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  31. การประชุม เพื่อทราบความก้าวหน้าและการเคลื่อนไหวในการดำเนินงาน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  32. การประชุม เพื่อทราบความก้าวหน้าและการเคลื่อนไหวในการดำเนินงาน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  33. การจัดทำแผนการดำเนินงานการจัดทำแผนการดำเนินงาน 1 2 แผนระยะปานกลางเป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าในอนาคต ระยะเวลา 3-5 ปี แผนปฏิบัติการประจำปีเป็นการนำแผนปานกลางมาทบทวนจัดทำแผนงาน/โครงการประจำปี เป็นแผนปฏิบัติการประจำปี การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  34. การจัดทำข้อบังคับงบประมาณการจัดทำข้อบังคับงบประมาณ 1 2 ประมาณการรายรับประจำปีทราบความเคลื่อนไหวของเงินทุนในสถาบันฯและคาดการณ์ว่าปีถัดไปจะมีเงินทุนเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ จะดำเนินกิจกรรมอะไร ประมาณการรายจ่ายประจำปีเป็นการวางแผนสนับสนุนการจัดทำกิจกรรมต่าง ๆของสถาบันฯ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสมาชิกและชุมชน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  35. วิธีการจัดทำข้อบังคับงบประมาณสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนวิธีการจัดทำข้อบังคับงบประมาณสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  36. สถานที่ทำการฯ ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงาน ติดต่อประสานกับสมาชิก และผู้มาติดต่อ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาในการดำเนินงานของสถาบันฯ การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  37. บัญชี ทะเบียน เอกสาร การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  38. การพัฒนาสถาบันฯ ดูจาก 1. การประชุมประจำเดือน2. การจัดทำแผนการดำเนินงาน(แผนปานกลาง/แผนประจำปี)3. การจัดทำ ข้อบังคับงบประมาณประจำปี บัญชี งบดุล4. การฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน 5. การนิเทศ สอนแนะ6. การจัดกิจกรรม7. การแสวงหาความร่วมมือ (งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ วิชาการ บุคลากร ฯลฯ) การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  39. การดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เป้าหมาย: เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชนมีการบริหารจัดการกองทุนและเงินทุนในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน คือ สถาบันทางเศรษฐกิจฐานราก ที่จัดตั้งขึ้นจากการบูรณาการเชื่อมโยงการบริหารจัดการของกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงิน ต่างๆ ร่วมกันบริหารจัดการเงินทุนในชุมชนเพื่อให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน1.เผยแพร่แนวคิด2.สำรวจวิเคราะห์ข้อมูลกองทุนชุมชน3.ประชุมกลุ่มเป้าหมายวางแผนการจัดตั้งสถาบันฯ4.ดำเนินการจัดตั้งสถาบันฯ ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน1.พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการ2.ส่งเสริมระบบสร้างเสริมสุขภาพ สถาบันฯ/สมาชิก3. ส่งเสริมแหล่งเรียนรู้เรื่องสถาบันฯ4. ส่งเสริมกิจกรรมการดำเนินงาน ของสถาบันฯ5. ประกาศเกียรติคุณฯ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์กองทุนชุมชนภายใต้หลักธรรมาภิบาลส่งเสริมการจัดกิจกรรมชุมชนสวัสดิการของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน วัตถุประสงค์: เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินชุมชน ให้มี ประสิทธิภาพ และใช้ประโยชน์จากเงินทุนชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการบูรณาการ ด้านการบริหารจัดการร่วมกันอย่างเป็นระบบ

  40. สวัสดี การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  41. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  42. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  43. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  44. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  45. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  46. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  47. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  48. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  49. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  50. การจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชนการจัดตั้งสถาบัน....การจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

More Related