1 / 22

5. ชุดดิน

คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน. แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน. โดย. นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร. 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ. 5. ชุดดิน. 1. Demand-Supply. 2. สถานที่ตั้งโรงสี.

ivo
Télécharger la présentation

5. ชุดดิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน โดย นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ 5. ชุดดิน 1. Demand-Supply 2. สถานที่ตั้งโรงสี 3. ระบบชลประทาน

  2. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน อำนาจหน้าที่ 1.บริหารการผลิตสินค้าข้าวตามความเหมาะสมทรัพยากร 2.สำรวจ ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูลการบริหารจัดการสินค้าข้าว 3. วิเคราะข้อมูลเชิงพื้นที่ และบูรณาการส่งเสริมองค์ความรู้ 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ 4.ประชาสัมพันธ์ และสร้างเครือข่าย 5. ชุดดิน 5.ติดตาม และประเมินผล 1. Demand-Supply 2. สถานที่ตั้งโรงสี 3. ระบบชลประทาน บูรณาการ 1. ผวจ. 2. ส่วนราชการ 3. สภาหอการค้าจังหวัด 4. สภาหออุสหกรรมจังหวัด 5. สภาเกษตรกร 6. สถาบันการศึกษา 7. โรงสีท้องถิ่น 8. กลุ่มผู้ประกอบการค้าข้าว 9. ธ.ก.ส.

  3. คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินงาน (เลขาฯ) 1. ตั่งคณะทำงานฯ - ข้อมูลชุดดิน - แหล่งน้ำ - ที่ตั้งโรงสี - โกดังคลังสินค้า - ผลผลิตต่อไร่ - พันธุ์ข้าว - พื้นที่ปลูก - จำนวนเกษตรกร - Demand-Supply 2. เชิญประชุม 3. วางแผน และแบ่งงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ 5. รายงานผลให้ กสก. 5. ชุดดิน 1. Demand-Supply 2. สถานที่ตั้งโรงสี 3. ระบบชลประทาน

  4. รูปแบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่รูปแบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ กรณีตัวอย่าง จังหวัดสุพรรณบุรี

  5. กรมส่งเสริมการเกษตร นำระบบMRCF System มาใช้ในการส่งเสริม

  6. MRCFSystem M : Mappingศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเตรียมเข้าทำงาน ในพื้นที่โดยเน้นการใช้ข้อมูลแผนที่ R : Remote Sensing ประสานและให้บริการเกษตรกรด้วย วิธีการติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลจาก ระยะไกล C : Community Participation ใช้วิธีการจัดเวทีชุมชนในการทำงาน และร่วมดำเนินการกับเกษตรกรชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแบบมีส่วนร่วม F : Specific Field Service เข้าทำงานในพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

  7. มีข้อมูลพื้นที่ พื้นที่ทั้งหมด 5,358.008 ตร.กม3,348,755 ไร่ - ชลประทาน - ชุดดิน - แหล่งน้ำ - โซนนิ่งการเกษตร

  8. มีข้อมูลเกษตรกร Smart farmer ต้นแบบ (ด้านข้าว) 10 คน เกษตรกร 87,412 ครัวเรือน ผ่านการสำรวจ 85,476 ครัวเรือน ชาวนา 59,111 ครัวเรือน Smart Farmer 6,016 ครัวเรือน ต้นแบบด้านข้าว 64 ครัวเรือน Developing 53,095 ครัวเรือน -

  9. การผลิตข้าวของจังหวัดสุพรรณบุรีการผลิตข้าวของจังหวัดสุพรรณบุรี ข้าวนาปี 1,394,342 ไร่

  10. S3 ข้าว ซ้อนทับ S3

  11. SUPPLY สถานการณ์การผลิตข้าว ผลผลิตรวม/ปี 2,107,233 ตัน พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 1,133,969 ไร่ ผลผลิต 963,973 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 850 กก.ต่อไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 1,394,342 ไร่ ผลผลิต 1,143,360 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 820 กก.ต่อไร่

  12. SUPPLY ผลผลิตข้าว 2,107,233 ตัน • ทำเมล็ดพันธุ์ข้าว 20%= 421,446 ตัน • แปรรูปเพื่อบริโภคในครัวเรือน/ชุมชน 5 % = 105,631 ตัน • ขายโรงสี ต่างๆ 75 % = 1,580,155 ตัน

  13. Demand โรงสีข้าว ในจังหวัดสุพรรณบุรี มากกว่า 120 แห่ง มีกำลังการผลิต 7,800,415 ตัน/ปี ผลผลิตข้าวภายในจังหวัดส่งโรงสี 1,580,155 ตัน/ปี ต้องซื้อข้าวเปลือกจากพื้นที่อื่น > 5,000,000 ตัน/ปี

  14. พื้นทีโซนนิ่งที่เหมาะสมในการปลูกข้าว S1+S2 จำนวน 1,904,038 ไร่ • พื้นที่โซนนิ่ง ที่ไม่เหมาะสม S3+N จำนวน 1,444,447 ไร่ • พื้นทีปลูกข้าวในพื้นที่เหมาะสม S1+S2 จำนวน 1,121,062 ไร่ • พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม S3+N จำนวน 210,605 ไร่

  15. สรุปแนวทางในการพัฒนา - ในพื้นที่ (S1 + S2)ที่ปลูกข้าว เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน - พื้นที่ไม่เหมาะสม (S3+N) เปลี่ยนพื้นที่ปลูก

  16. จบการนำเสนอ

  17. ขอบคุณครับ

More Related