1 / 49

หลักสูตรสถานศึกษา ( School-Based Curriculum)

หลักสูตรสถานศึกษา ( School-Based Curriculum). สำนักงาน กศน. หลักสูตรสถานศึกษา ( School-Based Curriculum). ความหมาย  แผนหรือแนวทางหรือข้อกำหนดของการจัดการการศึกษาที่จะ พัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ซึ่งจัดทําโดยคณะบุคคล ของสถานศึกษาและผูเกี่ยวของ เพื่อพัฒนาผูเรียน และชุมชน

jaafar
Télécharger la présentation

หลักสูตรสถานศึกษา ( School-Based Curriculum)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรสถานศึกษา(School-BasedCurriculum)หลักสูตรสถานศึกษา(School-BasedCurriculum) สำนักงาน กศน.

  2. หลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum) ความหมาย  แผนหรือแนวทางหรือข้อกำหนดของการจัดการการศึกษาที่จะ พัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ซึ่งจัดทําโดยคณะบุคคล ของสถานศึกษาและผูเกี่ยวของเพื่อพัฒนาผูเรียน และชุมชน สังคม ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู และสงเสริมให ผูเรียนรูจักตนเอง มีชีวิตอยู่ในชุมชน สังคมอยางมีความสุข ซึ่งตองไมขัดตอความมั่นคงของชาติ และสิทธิมนุษยชน

  3. มาตรฐานการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้

  4. หลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum) ความสำคัญ

  5. หลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum) ความสำคัญ

  6. หลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum) ความสำคัญ

  7. การจัดการเรียนรู้มีประเด็นคําถามที่ตองการความชัดเจนการจัดการเรียนรู้มีประเด็นคําถามที่ตองการความชัดเจน

  8. กรอบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษากรอบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ทิศทางการจัดการศึกษา การประเมิน เพื่อพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา รายวิชา หลักสูตร การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตร สถานศึกษา แผน การเรียนรู้ หน่วย การเรียนรู้ เอกสารประกอบหลักสูตร ความต้องการพัฒนาของ จังหวัด อำเภอและชุมชน

  9. บริบทพื้นฐาน

  10. กลับแผนภูมิหลัก

  11. กลับแผนภูมิหลัก

  12. กลับแผนภูมิหลัก

  13. กลับแผนภูมิหลัก

  14. บริบทพื้นฐาน ศึกษา • หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 • เอกสารประกอบหลักสูตร • ขอมูลความตองการพัฒนาของจังหวัด อําเภอ ชุมชน  โดยนำผลการศึกษามากําหนดเป็นทิศทางในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

  15. ปรัชญา “คิดเปน” ปรัชญา “คิดเปน” มีแนวคิดภายใตความเชื่อที่วา “คนเราสามารถพัฒนา การคิด การตัดสินใจใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นได ดวยการฝกทักษะ การใชขอมูลที่หลากหลายทั้งดานตนเอง สังคม สิ่งแวดลอม และวิชาการมาวิเคราะห เชื่อมโยง สัมพันธ สรางสรรค เปนแนวทาง วิธีการสําหรับตนเอง แลวประเมินตีคา ตัดสินใจเพื่อตนเอง และชุมชน สังคม ซึ่งเป็นลักษณะของคน “คิดเปน”

  16. วิสัยทัศน์ • ความมุ่งหวังที่จะให้การจัดการศึกษาของแต่ละสถานศึกษาเป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการจัดการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมายในการพัฒนา

  17. การเขียนวิสัยทัศน์

  18. พันธกิจ คือ คำตอบของการดำเนินงานเข้าสู่วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา องค์ประกอบ 4 ด้าน (1) ผู้เรียน (2) การจัดการเรียนรู้ (3) ภาคีเครือข่าย (4) การเรียนรู้พัฒนาตนเองของสถานศึกษา

  19. หลักการ จุดหมายของหลักสูตร นำหลักการ และจุดหมายของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาบรรจุเป็นหลักการ และจุดหมายของ หลักสูตรสถานศึกษา

  20. กลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาระบุกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจะได้นำข้อมูล ของกลุ่มเป้าหมายมาพิจารณาในการกำหนดหลักสูตร สถานศึกษา เช่น  กลุ่มเกษตรกร  กลุ่มผู้นำท้องถิ่น  กลุ่มที่ทำงานในสถานประกอบการ

  21. กรอบโครงสร้าง  ระดับการศึกษา  สาระการเรียนรู้  กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต  มาตรฐานการเรียนรู้  เวลาเรียน  หน่วยกิต  ให้นำรายละเอียดข้อ   ในหลักสูตรฯ 51 มาบรรจุลงในหลักสูตรสถานศึกษา  โครงสร้างหลักสูตร

  22. โครงสร้างหลักสูตร

  23. การจัดหลักสูตรของสถานศึกษาการจัดหลักสูตรของสถานศึกษา  ต้องให้สอดคล้องกับทิศทางการจัดการศึกษาตามปรัชญาและวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาและความต้องการของผู้เรียน และชุมชน สังคม  สำหรับรายวิชาเลือกที่ได้กำหนดไว้สามารถเลือกเรียนในสาระการเรียนรู้ใดสาระการเรียนรู้หนึ่ง หรือหลายสาระการเรียนรู้ก็ได้ โดยให้เป็นไปตามความต้องการของผู้เรียน และชุมชน สังคม ให้ครบจำนวนหน่วยกิต ตามโครงสร้างหลักสูตรในแต่ละระดับการศึกษา

  24. ตัวอย่าง การกำหนดโครงสร้างหลักสูตรในแต่ละระดับ

  25. โครงสร้างหลักสูตร ระดับประถมศึกษา

  26. โครงสร้างหลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

  27. โครงสร้างหลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

  28. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ • 1. สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานที่ 1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการคิดเป็น มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการวิจัยอย่างง่าย • 2. สาระความรู้พื้นฐาน ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

  29. สาระการเรียนรู้ -ทักษะการเรียนรู้ -ความรู้พื้นฐาน -การประกอบอาชีพ -ทักษะการดำเนินชีวิต -การพัฒนาสังคม -มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ -ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง -คำอธิบายรายวิชา -รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา

  30. การจัดแผนการลงทะเบียนเรียนการจัดแผนการลงทะเบียนเรียน • ลงทะเบียนเรียนเป็นรายวิชา จำนวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน กำหนด ดังนี้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนละไม่เกิน 14 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนละไม่เกิน 16 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนละไม่เกิน 20 หน่วยกิต

  31. การพิจารณาเลือกรายวิชาต่าง ๆ ลงทะเบียนเรียน 1. ครู ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกันพิจารณาจัดรายวิชาต่าง ๆ ลงทะเบียนเรียน ในแต่ละภาคเรียน 2. พิจารณาจำนวนหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน 3. พิจารณารายวิชาที่ต้องเรียนรู้ตามลำดับ ก่อน-หลัง 4. ความต่อเนื่องของการลงทะเบียนในรายวิชาต่าง ๆ 5. กระจายรายวิชาที่ยาก และรายวิชาที่ง่ายให้คละกันไปในแต่ละภาคเรียน

  32. แผนการลงทะเบียนเรียน ตัวอย่าง

  33. ให้นำรายละเอียดจากหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาบรรจุลงในหลักสูตรของสถานศึกษา • วิธีการจัดการเรียนรู้ • การจัดกระบวนการเรียนรู้ • สื่อการเรียนรู้ • การเทียบโอน • การวัดและประเมินผลการเรียน • การจบหลักสูตร • เอกสารหลักฐานการศึกษา

  34. หน่วยการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเนื้อหาสาระต่าง ๆ ที่มุ่งให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงแนวคิด และความคิดรวบยอด เพื่อการแก้ปัญหา หรือแสวงหาความรู้ ตามความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม

  35. ความจำเป็นในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ความจำเป็นในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ หลักการของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อ  เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการ เรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นการบูรณาการ เนื้อหาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล และชุมชน สังคม

  36. ประโยชน์ของการจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการประโยชน์ของการจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ • ทำให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาในลักษณะองค์รวม มองเห็นความสัมพันธ์ ระหว่างเนื้อหาวิชา • ทำให้ผู้เรียนได้เรียนจากประสบการณ์จริง โดยผสมผสานความรู้ คุณธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีเจตคติที่ดี • ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้หลายรูปแบบที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ  ช่วยทำให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพและปัญหาสังคม ส่งเสริมให้เกิดทักษะ และความสามารถในการแก้ปัญหาทั้งผู้เรียนและครู รวมทั้งส่งเสริมการค้นคว้าวิจัย

  37. ข้อควรคำนึงในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ข้อควรคำนึงในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้  กระบวนการ และขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ควรยืดหยุ่น  การจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ต้องให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่กำหนดไว้  การกำหนดภาระงานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ ควรเชื่อมโยงผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อให้เกิดชิ้นงาน/ภาระงาน  การวัดและประเมินผล ชิ้นงาน/ภาระงานที่กำหนดในหน่วยการเรียนรู้ ควรเป็นการประเมินจากการปฏิบัติจริง หรือการแสดงความสามารถของผู้เรียน

  38. ขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ฝึกปฏิบัติในกลุ่มย่อย

  39. การจัดทำแผนการเรียนรู้การจัดทำแผนการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หัวเรื่อง องค์ประกอบ แผนการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล

  40. แผนการเรียนรู้ ตัวอย่าง

  41. การจัดกระบวนการเรียนรู้การจัดกระบวนการเรียนรู้ กำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation) ONIE MODEL การประเมินผล (E : Evaluation) แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) ปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation)

  42. การประเมินเพื่อการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาลักษณะการประเมินการประเมินเพื่อการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาลักษณะการประเมิน • การประเมินทิศทางจัดการศึกษาของหลักสูตรสถานศึกษา ให้ตรงกับนโยบายพัฒนากำลังคนของจังหวัด อำเภอ และสอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ ดำเนินการจัดการศึกษา  การประเมินพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ และแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาชุมชน แผนพัฒนาอาชีพของผู้เรียน สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของชุมชน

  43. การประเมินทิศทางจัดการศึกษาการประเมินทิศทางจัดการศึกษา ประเมินเทียบเคียงโดยใช้เหตุและผลของคณะผู้บริหารระดับอำเภอ วิเคราะห์ความสอดคล้อง เชิงปริมาณ โดยกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ประเมิน ตัดสินใจ นำข้อมูล มาจัดเขียนเอกสาร

  44. การประเมินพัฒนาหน่วยการเรียนรู้การประเมินพัฒนาหน่วยการเรียนรู้  วิเคราะห์บริบทชุมชน เพื่อตัดสินใจกำหนดขอบข่ายการเรียนรู้ เพื่อตัดสินใจกำหนดความรู้ที่จำเป็น ใช้เรียนรู้ ให้สัมพันธ์กับปัจจัยที่มีอยู่ ของชุมชนและองค์การที่เกี่ยวข้อง ประเมินปัจจัยนำเข้าที่มีอยู่ ของชุมชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง เพื่อตัดสินใจใช้หน่วยการเรียนรู้จัดการเรียนรู้  ประเมินกระบวนการเรียนรู้ เพื่อตัดสินใจพัฒนาคุณภาพ ประเมินผลผลิต

  45. จบการนำเสนอ

More Related