1 / 139

บทที่ 7

บทที่ 7. รายการปรับปรุงบัญชี. การปรับปรุงบัญชี.

jacie
Télécharger la présentation

บทที่ 7

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 7 รายการปรับปรุงบัญชี

  2. การปรับปรุงบัญชี รายการปรับปรุง (Adjusting Entries) หมายถึง รายการที่บันทึกเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายได้และค่าใช้จ่ายให้ได้รายได้และค่าใช้จ่ายที่ควรจะเป็นของรอบระยะเวลาบัญชีนั้นซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์สิทธิ นอกจากนั้นแล้ว รายการปรับปรุงยังส่งผลให้สินทรัพย์และหนี้สินถูกต้องตามความเป็นจริงตอนสิ้นงวดรอบระยะเวลาบัญชีนั้นด้วย

  3. การปรับปรุงบัญชี รายการปรับปรุงนั้นตอนสิ้นงวดบัญชี รายการที่ต้องปรับปรุงมี 7 รายการดังนี้ 1. รายได้รับล่วงหน้า 2. รายได้ค้างรับ 3. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 5. การคำนวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6. วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป 7. การคำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์(ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์)

  4. รายได้รับล่วงหน้า รายได้รับล่วงหน้า หมายถึง รายได้ที่กิจการได้รับล่วงหน้าจากลูกค้า โดยที่กิจการยังไม่ได้ให้บริการแก่ลูกค้าหรือยังไม่ได้ให้ลูกค้าใช้ทรัพยากรของกิจการ แต่กิจการมีพันธะในหนี้สินเกิดขึ้นแล้ว แล้ว เช่น ค่าเช่ารับล่วงหน้า และดอกเบี้ยรับล่วงหน้า เป็นต้น รายได้รับล่วงหน้ามีการบันทึกบัญชีได้ 2 วิธี คือ 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน 1.2 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้

  5. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน เมื่อกิจการบันทึกการรับเงินรายได้รับล่วงหน้าไว้ในบัญชีหนี้สิน จะบันทึกบัญชีไว้ดังนี้ เดบิตเงินสด XX เครดิต รายได้รับล่วงหน้า XX การปรับปรุงบัญชี คือปรับจากหนี้สิน เป็นรายได้ โดยบันทึก

  6. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน เมื่อกิจการบันทึกการรับเงินรายได้รับล่วงหน้าไว้ในบัญชีหนี้สิน จะบันทึกบัญชีไว้ดังนี้ เดบิตเงินสด XX เครดิตรายได้รับล่วงหน้า XX บันทึกปรับปรุง เดบิตรายได้รับล่วงหน้า XX เครดิตรายได้รับ XX

  7. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 บริษัท กอล์ฟไมค์ จำกัด ได้รับค่าเช่าจำนวน 10,000 บาท เป็นค่าเช่ารับของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลา 5 เดือน

  8. 1 ตุลาคม 2549 28 กุมภาพันธ์ 2550 เวลา 5 เดือน ครบกำหนด 3 เดือน 2 เดือน รับ 31 ธันวาคม 2549 เป็นรายได้ ปี 2550 เป็นรายได้ ปี 2549 3@2,000 = 6,000 2@2,000 = 4,000

  9. 1 ตุลาคม 2549 28 กุมภาพันธ์ 2550 เวลา 5 เดือน ครบกำหนด 3 เดือน 2 เดือน รับ 31 ธันวาคม 2549 เป็นหนี้สิน ปี 2549 เป็นรายได้ ปี 2549 3@2,000 = 6,000 2@2,000 = 4,000

  10. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 บริษัท กอล์ฟไมค์ จำกัด ได้รับค่าเช่าจำนวน 10,000 บาท เป็นค่าเช่ารับของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลา 5 เดือน 1 ตุลาคม 2549 เดบิตเงินสด ( 5 @ 2,000) 10,000 เครดิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า 10,000

  11. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 บริษัท กอล์ฟไมค์ จำกัด ได้รับค่าเช่าจำนวน 10,000 บาท เป็นค่าเช่ารับของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลา 5 เดือน 31 ธันวาคม 2549 เดบิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า ( 3 @ 2,000) 6,000 เครดิต ค่าเช่ารับ 6,000

  12. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตเงินสด ( 5 @ 2,000) 10,000 เครดิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า 10,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Cr. 4,000 (หนี้สิน) เดบิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า ( 3 @ 2,000) 6,000 เครดิต ค่าเช่ารับ 6,000

  13. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นหนี้สิน จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตเงินสด ( 5 @ 2,000) 10,000 เครดิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า 10,000 เหลือด้าน Cr. 6,000 (รายได้) 31 ธันวาคม 2549 เดบิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า ( 3 @ 2,000) 6,000 เครดิต ค่าเช่ารับ 6,000

  14. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้ เมื่อกิจการบันทึกการรับเงินรายได้รับล่วงหน้าไว้ในบัญชีรายได้ จะบันทึกบัญชีไว้ดังนี้ เดบิตเงินสด XX เครดิตรายได้ XX การปรับปรุงบัญชี คือปรับจากรายได้ เป็นหนี้สิน โดยบันทึก

  15. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้ เมื่อกิจการบันทึกการรับเงินรายได้รับล่วงหน้าไว้ในบัญชีรายได้ จะบันทึกบัญชีไว้ดังนี้ เดบิตเงินสด XX เครดิต รายได้ XX บันทึกปรับปรุง เดบิตรายได้ XX เครดิตรายได้รับล่วงหน้า XX

  16. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้ จากตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 บริษัท กอล์ฟไมค์ จำกัด ได้รับค่าเช่าจำนวน 10,000 บาท เป็นค่าเช่ารับของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลา 5 เดือน 1 ตุลาคม 2549 เดบิตเงินสด ( 5 @ 2,000) 10,000 เครดิต ค่าเช่ารับ 10,000

  17. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้ จากตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 บริษัท กอล์ฟไมค์ จำกัด ได้รับค่าเช่าจำนวน 10,000 บาท เป็นค่าเช่ารับของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลา 5 เดือน 31 ธันวาคม 2549 เดบิต ค่าเช่ารับ ( 2 @ 2,000) 4,000 เครดิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า 4,000

  18. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้ จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตเงินสด ( 5 @ 2,000) 10,000 เครดิต ค่าเช่ารับ 10,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Cr. 6,000 (รายได้) เดบิต ค่าเช่ารับ ( 2 @ 2,000) 4,000 เครดิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า 4,000

  19. รายได้รับล่วงหน้า 1.1 เมื่อมีรายได้ล่วงหน้าเกิดขึ้นกิจการจะบันทึกไว้เป็นรายได้ จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตเงินสด ( 5 @ 2,000) 10,000 เครดิต ค่าเช่ารับ 10,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Cr. 4,000 (หนี้สิน) เดบิต ค่าเช่ารับ ( 2 @ 2,000) 4,000 เครดิต ค่าเช่ารับล่วงหน้า 4,000

  20. ตัวอย่าง เพิ่มเติม

  21. รับค่าเช่า 9 เดือน รับวันที่ 1 มิถุนายน 2554 จำนวนเดือนละ 1,000 บาท บันทึกในวันที่ 1 มิถุนายน เป็นหนี้สิน/ รายได้ ให้ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554

  22. เป็นหนี้สิน 1 มิถุนายน 2554 Dr. เงินสด 9,000 Cr. ค่าเช่ารับล่วงหน้า 9,000

  23. เป็นหนี้สิน ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554 Dr. ค่าเช่ารับล่วงหน้า 7,000 Cr. ค่าเช่ารับ 7,000

  24. เป็นรายได้ 1 มิถุนายน 2554 Dr. เงินสด 9,000 Cr. ค่าเช่ารับ 9,000

  25. เป็นรายได้ ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554 Dr. ค่าเช่ารับ 2,000 Cr. ค่าเช่ารับรับล่วงหน้า 2,000

  26. รายได้ค้างรับ รายได้ค้างรับ คือ กิจกรรมที่กิจการให้บริการเสร็จสิ้นแล้วภายในงวดบัญชีปัจจุบัน แต่กิจการมิได้รับเงินจากผู้รับบริการนั้น หรืออาจจะกล่าวสั้น ๆ ว่าเป็นรายได้ซึ่งเกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้รับชำระเงิน เช่น ค่าเช่าค้างรับ และดอกเบี้ยค้างรับ เป็นต้น ข้อสังเกต คือ รายได้ค้างรับจะเป็นรายได้อื่นของกิจการมิใช่รายได้หลักของกิจการ หากเป็นรายได้หลักของกิจการแล้วแต่มิได้รับเงินจากการขายสินค้าหรือบริการบัญชีจะเรียกว่า “ลูกหนี้การค้า”

  27. รายได้ค้างรับ จากที่กล่าวมานี้บัญชีรายได้ค้างรับมีสภาพเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน ดังนั้นเมื่อตอนสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีจะทำการปรับปรุงรายการนี้ โดย เดบิตรายได้ค้างรับ XX เครดิตรายได้ XX

  28. รายได้ค้างรับ ตัวอย่างที่ 2ร้าน Amino เปิดบริการอู่ซ่อมรถ ภายในบริเวณอู่ซ่อมรถมีพื้นที่ว่างพอให้นางสาวจิตสบาย เช่าเพื่อขายอาหารให้แก่พนักงานอู่ซ่อมรถและลูกค้าทั่วไป โดยคิดค่าเช่าเดือนละ 3,000 บาท นางสาวจิตสบายมีปัญหาทางการเงินจึงได้ขอผ่อนผันการจ่ายค่าเช่าแก่ร้านจิตแจ่มใส เป็นเวลา 4 เดือน ตั้งแต่เดือนกันยายน ถึงธันวาคมของปี 2549 (รอบระยะเวลาบัญชี คือ มกราคมถึงธันวาคม) การบันทึกบัญชีจะเป็นดังต่อไปนี้ เดบิต ค่าเช่าค้างรับ (4@3,000) 12,000 เครดิตค่าเช่ารับ 12,000

  29. รายได้ค้างรับ สินทรัพย์ 12,000 รายได้ 12,000 เดบิต ค่าเช่าค้างรับ (4@3,000) 12,000 เครดิตค่าเช่ารับ 12,000

  30. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หมายถึง ค่าสิ่งของหรือบริการที่กิจการจ่ายเงินแล้วแต่กิจการยังมิได้รับบริการหรือสิ่งของนั้นในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบัน แต่จะได้รับในอนาคต เช่นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า ค่าเครื่องเขียนและวัสดุสำนักงานคงเหลือ การบันทึกค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ในขณะที่จ่ายเงินนั้นในทางบัญชีสามารถบันทึกได้ 2 วิธี คือ 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ 2. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย

  31. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ เมื่อกิจการจ่ายค่าใช้จ่ายล่วงหน้าไว้ในบัญชีสินทรัพย์ จะบันทึกบัญชีไว้ดังนี้ เดบิต ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า XX เครดิตเงินสด XX การปรับปรุงบัญชี คือปรับจากสินทรัพย์ เป็นค่าใช้จ่าย โดยบันทึก

  32. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ เมื่อกิจการจ่ายค่าใช้จ่ายล่วงหน้าไว้ในบัญชีสินทรัพย์ จะบันทึกบัญชีไว้ดังนี้ เดบิต ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า XX เครดิต เงินสด XX บันทึกปรับปรุง เดบิตค่าใช้จ่าย XX เครดิต ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า XX

  33. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งจ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท ระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000

  34. 1 ตุลาคม 2549 1 ตุลาคม 2550 เวลา 12 เดือน ครบกำหนด 3 เดือน 9 เดือน จ่าย 31 ธันวาคม 2549 เป็นค่าใช้จ่าย ปี 2550 เป็นค่าใช้จ่าย ปี 2549 3@1,000 = 3,000 9@1,000 = 9,000

  35. 1 ตุลาคม 2549 1 พฤศจิกายน 2550 เวลา 12 เดือน ครบกำหนด 3 เดือน 9 เดือน จ่าย 31 ธันวาคม 2549 เป็นสินทรัพย์ ปี 2549 เป็นค่าใช้จ่าย ปี 2549 3@1,000 = 3,000 9@1,000 = 9,000

  36. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งจ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท ระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000

  37. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งจ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท ระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 31 ธันวาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันจ่าย (3@1,000) 3,000 เครดิต ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า 3,000

  38. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Dr. 9,000 (สินทรัพย์) เดบิตค่าเบี้ยประกันจ่าย (3@1,000) 3,000 เครดิต ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า 3,000

  39. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Dr. 3,000 (ค่าใช้จ่าย) เดบิตค่าเบี้ยประกันจ่าย (3@1,000) 3,000 เครดิต ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า 3,000

  40. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งจ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท ระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000

  41. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งจ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท ระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 31 ธันวาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า (9@1,000) 9,000 เครดิต ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย 9,000

  42. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Dr. 3,000 (ค่าใช้จ่าย) เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า (9@1,000) 9,000 เครดิต ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย 9,000

  43. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 1. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย จากการบันทึก 1 ตุลาคม 2549 เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย (12@1,000) 12,000 เครดิต เงินสด 12,000 31 ธันวาคม 2549 เหลือด้าน Dr. 9,000 (สินทรัพย์) เดบิตค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า (9@1,000) 9,000 เครดิต ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย 9,000

  44. ตัวอย่าง เพิ่มเติม

  45. จ่ายค่าเช่าไป 3 เดือน จ่ายวันที่ 1 มิถุนายน 2554 จำนวนเดือนละ 4,000 บาท บันทึกในวันที่ 1 มิถุนายน เป็นสินทรัพย์/ ค่าใช้จ่าย ไว้ ให้ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554

  46. เป็นสินทรัพย์ ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554 Dr. ค่าเช่าจ่าย 12,000 Cr. ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า 12,000

  47. เป็นค่าใช้จ่าย ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554 ไม่ต้องปรับปรุง

  48. จ่ายค่าเช่าไป 10 เดือน จ่ายวันที่ 31 กรกฎาคม 2554 จำนวนเดือนละ 4,000 บาท บันทึกในวันที่ 31 กรกฎาคม เป็นสินทรัพย์/ ค่าใช้จ่าย ไว้ ให้ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554

  49. เป็นสินทรัพย์ ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554 Dr. ค่าเช่าจ่าย 20,000 Cr. ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า 20,000

  50. เป็นค่าใช้จ่าย ปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม 2554 Dr. ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า 20,000 Cr. ค่าเช่าจ่าย 20,000

More Related