1 / 40

หลักการบริหารความเสี่ยง โดย...นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล

หลักการบริหารความเสี่ยง โดย...นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย. หลักการบริหารความเสี่ยง. ต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์กรทั้งหมด ส่งผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ - เงินและทรัพย์สินขององค์กร

Télécharger la présentation

หลักการบริหารความเสี่ยง โดย...นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการบริหารความเสี่ยง โดย...นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย

  2. หลักการบริหารความเสี่ยงหลักการบริหารความเสี่ยง ต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์กรทั้งหมด ส่งผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ - เงินและทรัพย์สินขององค์กร - ภาพลักษณ์ขององค์กร - ขวัญและกำลังใจของบุคลากร - ความมั่นคงของประเทศ - การปฏิบัติงานตามกฎหมาย และระเบียบ

  3. เป้าหมาย • ความสม่ำเสมอ • การประเมินตนเอง • การตรวจสอบภายใน • การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อ • ประชาชนรับบริการที่ดีขึ้น • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของ องค์กร • ประสิทธิภาพ ประสิทธิพลและคุ้มค่า ติดตามผล ประเมินความ เสี่ยง ความไม่แน่นอน ต่อเป้าหมายที่ต้องการ แต่ละแห่งไม่เหมือนกัน ปรับปรุง ทบทวนให้เหมาะสมกับสภาพ เวลา นำระบบการควบคุม ที่กำหนดไปใช้ กำหนดระบบการควบคุม เมื่อรู้ความเสี่ยง ก็ต้องกำหนดระบบการควบคุม เพื่อให้มั่นใจว่าจะบรรลุเป้าหมาย ภาพรวมของการบริหารความเสี่ยง

  4. ความเสี่ยง(RISK) ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบ หรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ) หรือก่อให้เกิด ความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายภารกิจหลักที่กำหนดในกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ

  5. ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบบริหารปัจจัย และควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการการดำเนินการต่างๆ โดยลดมูลเหตุ ของแต่ละโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหาย เพื่อให้ระดับ ของความเสี่ยงและผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุ เป้าหมายตามภารกิจหลักตามกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ เป็นสำคัญ

  6. ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง • การกำหนดวัตถุประสงค์: กำหนดขอบเขต การดำเนินงานขององค์การ เพื่อให้การวิเคราะห์ ความเสี่ยงได้ครบถ้วน • การระบุความเสี่ยง: ค้นหาความเสี่ยงในแต่ ละด้าน • การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง: วิเคราะห์ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบของ ความเสี่ยงและจัดระดับความเสี่ยง

  7. ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง(ต่อ)ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง(ต่อ) • การจัดการความเสี่ยง: กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อป้องกัน ลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรสามารถยอมรับได้ • การติดตาม ประเมินผลและรายงาน:ติดตามผลหลังดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยงและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง

  8. การระบุความเสี่ยง อะไร? (เหตุการณ์) ที่ทำให้องค์กร • เสียชื่อ • ขาดความน่าเชื่อถือ • สูญเสียทรัพย์(เงิน คน สิ่งของ) • สูญหาย (ทรัพย์ เอกสารสำคัญ) • เสื่อมสภาพ • เสียโอกาสที่ดีต่อองค์กร • ถูกดำเนินคดี/กล่าวโทษ

  9. การประเมินความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการระบุและ การวิเคราะห์ความเสี่ยง ที่มีผลกระทบ ผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน รวมทั้ง การกำหนดแนวทางที่จำเป็น ต้องใช้ในการควบคุมความเสี่ยง หรือบริหาร ความเสี่ยง

  10. โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง

  11. ผลกระทบต่อองค์กร

  12. การวัดระดับความเสี่ยงการวัดระดับความเสี่ยง ผล กระ ทบ โอกาสที่จะเกิด

  13. ตัวอย่างการประเมินความเสี่ยงตัวอย่างการประเมินความเสี่ยง

  14. ประเภทความเสี่ยง ได้แก่ • ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk: S) • ด้านการดำเนินงาน (Operation Risk : O) • ด้านการเงิน งบประมาณ (Financial Risk: F) • ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk :C) • ด้านอื่น ๆ

  15. สิ่งที่ควรนำมาพิจารณาได้แก่สิ่งที่ควรนำมาพิจารณาได้แก่ • กลยุทธ์ • การเมือง • เศรษฐกิจ • สถานการณ์โลก • สังคม • ชื่อเสียง • ภาวะผู้นำ • ตลาด • ตราสินค้า • ลูกค้า • การแข่งขัน ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์

  16. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ตัวอย่างความเสี่ยงด้านกลยุทธ์เช่น • การดำเนินกลยุทธ์ที่ผิดพลาด หรือไม่เหมาะสม • กลยุทธ์ที่กำหนดไว้ไม่ได้ถูกนำไปใช้ • การดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย/ไม่แล้วเสร็จตามเวลา ฯลฯ • การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติอย่างไม่เหมาะสม • คุณภาพการบริหารที่ไม่ดี/ความไม่เหมาะสมในการจัดการ • ใช้คน/เงิน/สิ่งของ ในการดำเนินงาน ไม่เหมาะสม รั่วไหล/เสียหาย

  17. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงานความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน สิ่งที่ต้องพิจารณา • ระบบขององค์การ • กระบวนการทำงาน • เทคโนโลยี • บุคลากร • ข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างของความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน เช่นใช้คน/เงิน/สิ่งของ ในการดำเนินงาน ไม่เหมาะสม รั่วไหล/เสียหาย

  18. ความเสี่ยงด้านการเงิน งบประมาณ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับองค์กรจากการกำหนดแนวทางแผนการจัดการ และการควบคุม การใช้งบประมาณอย่างไม่เหมาะสม รวมถึง การกำหนดนโยบายและวิธีการทางบัญชี และวางระบบตลอดจนการลงบัญชี และออกรายงานทางการเงินที่ผิดพลาด รวมทั้งความไม่ปลอดภัยในการเก็บรักษาเงินสดทางกายภาพ เช่นการเบิกจ่ายงบลงทุนไม่ได้ตามเป้าหมาย การเบิกจ่ายเงินแต่ละไตรมาสไม่เป็นไปตาม มติ ครม. ฯลฯ

  19. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ • กฎระเบียบ • กฎหมาย • ระเบียบข้อบังคับ • ข้อกำหนดของทางการ • มาตรการกรม

  20. กพร. กำหนดให้เป็นตัวชี้วัดในการจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง ตัวชี้วัดที่ 19 ในปี 2549 ตัวชี้วัดที่ 17 ในปี 2550 ตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 2 ในปี 2551

  21. การบริหารความเสี่ยงกรมอนามัยการบริหารความเสี่ยงกรมอนามัย • กรมอนามัยกำหนดให้กลุ่มตรวจสอบภายใน • เป็นเจ้าภาพหลักและกำหนดให้มีคณะกรรมการ • บริหารความเสี่ยง 2 ระดับ • ระดับกรม • ระดับหน่วยงาน

  22. ขั้นตอนการดำเนินงานตาม กพร. กำหนด ขั้นตอนที่ 1 ตั้งคณะกรรมการ ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ระบุปัจจัยเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 5 สรุปประเมินผลการดำเนินงานตามแผน

  23. แผนบริหารความเสี่ยง 4 กระบวนงาน • 1. งานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้นวตกรรม • 2. จัดซื้อจัดจ้าง • แผน • การดำเนินงาน • 3. กระบวนการอบรม/ประชุม/สัมมนา • 4. การสื่อสารประชาสัมพันธ์

  24. ติดตามการบริหารความเสี่ยง 4 กระบวนงาน วัตถุประสงค์ 1. งานวิจัย เนื่องจากเป็นภารกิจของกรมฯ ที่ต้องเผยแพร่ หรือนำผลงานไปสู่การปรับใช้ในทางปฏิบัติ 2. งานฝึกอบรม เพื่อให้การอบรมคุ้มค่าและมีประโยชน์และเป้าหมาย ตามวัตถุประสงค์อย่างแท้จริงและตามระเบียบข้อ 27 กำหนดให้ มีการประเมินผลการฝึกอบรมและรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ 3. งานประชาสัมพันธ์ เพื่อทราบถึงวิธีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ภายในหน่วยงาน 4. งานจัดซื้อ/จัดจ้าง เพื่อให้เกิดการเร่งรัดการจัดซื้อ/จัดจ้าง โดยใช้ผังกำกับการจัดซื้อ/จัดจ้างตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง ใช้การซื้อ/จ้างทันตามแผนและเวลาที่กำหนด

  25. กลยุทธ์หน่วยงาน และกิจกรรมที่รับผิดชอบ ความเหมาะสม พิจารณาได้จาก : • ผลสำเร็จของโครงการ/กิจกรรมที่กำหนดไว้ “ทำให้องค์กรบรรลุผลตามที่กำหนดไว้หรือไม่” • กิจกรรมที่กำหนด(สิ่งที่จะทำ) สามารถปฏิบัติได้จริง • มีความพร้อมด้านทรัพยากรต่างๆ และระบบข้อมูล

  26. ความเสี่ยงของโครงการ ไม่ได้ผลลัพธ์ Outcome ตามที่ต้องการ • งบประมาณไม่เพียงพอ • บุคคลากรไม่เพียงพอ เหมาะสม • งานที่สำคัญ ไม่ได้กำหนดไว้ • เกินกำหนดเวลา

  27. การบริหารความเสี่ยงระดับกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับกิจกรรม • เลือกกิจกรรมที่ สนับสนุนกลยุทธ์องค์กร • ลำดับขั้นตอน และผู้รับผิดชอบตั้งแต่ต้น จนจบ • ประเมินความเสี่ยงเป็นกระบวนการ • ประเมินระบบการควบคุมที่มี • ติดตามปัจจัยกระทบ และผลการควบคุม

  28. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง(Risk Profile) แบ่งออกมาเป็น 2 ระดับ 1. ระดับกรม ให้ทำยุทธศาสตร์ กรมอนามัย 2. ระดับหน่วยงานย่อย ให้ทำ ยุทธศาสตร์ / โครงการ/ กิจกรรม ระดับหน่วยงาน

  29. ไดอะแกรม การจัดทำ Risk Profile ระบุประเด็นที่ สร้างความเสี่ยงสูง เปรียบเทียบกับเวลาก่อนหน้า กำหนด ยุทธศาสตร์กรมอนามัย ประเมินโอกาส + ความรุนแรง 5 x 5 …. 1 x 1 กำหนด/ จัดลำดับความเสี่ยง ความผันผวน ต่ำหรือสูง? ใช่ สำรวจข้อเท็จจริง ความผันผวน วางเกณฑ์ สร้างความผันผวน* ไม่ใช่ จัดลำดับแผนการจัดการ ทรัพยากรที่จะใช้ ประเมินระดับความเพียงพอ ของทรัพยากร แผนยุทธศาสตร์ ความเสี่ยง คุ้มค่าหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ กำหนดมาตรการ บริหารความเสี่ยง ประเมินกิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตร์

  30. การบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใครการบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใคร • ทุกคนเกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงในฐานะที่ เป็นผู้ระบุว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างในหน่วยงาน/ โครงการหรืองานของตน • ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน • เจ้าของหรือเจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Owners) ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน เจ้าของโครงการ/เจ้าของงาน ผู้ที่ได้รับมอบหมายเฉพาะ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง(RiskManagement and Review Committee)

  31. Risk Profiles คือ 1. การประเมินภาพ และแสดงภาพขององค์ประกอบความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ ที่ครบถ้วนทุกด้านด้วย Risk Factor = RF 2. แล้วติดตามว่ามีกิจกรรม แผนปฏิบัติการใด ผลลัพธ์ใดที่เกิดขึ้นจาก Risk Mgn แล้วทำให้ความเสี่ยงลดลงไปจากเวลาก่อนหน้านั้น

  32. เจ้าของ/เจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Ownership) • มีการตกลงและมอบหมายการเป็นเจ้าภาพความเสี่ยงอย่าง เป็นทางการ • อาจไม่ใช่คนที่รับผิดชอบการประเมินความเสี่ยงก็ได้แต่ต้อง เป็นคนที่สามารถติดตามดูแลให้มีการบริหารความเสี่ยง อย่างมีประสิทธิภาพ • ต้องมีความชัดเจนว่าใครทำหน้าที่อะไร • ใครเป็นผู้กำหนดนโยบายว่าส่วนราชการจะรับความเสี่ยงได้แค่ไหน • ใครรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยงในแต่ละระดับ • ใครรับผิดชอบแต่ละกระบวนการ/ขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยง • ใครดูแลการนำมาตรการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ • ใครดูแล กรณีที่เป็นความเสี่ยงร่วม (Interdependent risks)

  33. ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก วิสัยทัศน์ เป้าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว • การลงทุนเพื่อพัฒนาระบบบริการ MCH ที่ได้มาตรฐาน • โครงการพัฒนาโรงพยาบาลภาครัฐ และเอกชนผ่านเกณฑ์โรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว • โครงการสนับสนุนระบบบริการ ส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรคธาลัสซีเมีย • โครงการสนับสนุนระบบบริการป้องกัน • การแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก • โครงการสนับสนุนระบบป้องกันภาวะปัญญาอ่อนจากภาวะพร่องธันรอยด์ • โครงการติดตามมารดาหลังคลอด เพื่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กเจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย เพื่อเป็นรากฐานการ พัฒนาเด็กระยะยาว • โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับทองจังหวัดละ 1 แห่ง • อัตราการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วี จาก แม่ สู่ลูก ร้อยละ 4 • ทารกเกิดใหม่ป่วยเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงลดลงร้อยละ 20 • ทารกที่ผลการตรวจกรองธัยรอยด์ผิดปกติได้รับการตรวจยืนยันและกินธัยรอยด์ฮอร์โมน ร้อยละ 100 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย ชมรม/ แกนนำ/อาสาสมัคร 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ ผู้ที่เกี่ยวข้องและพัฒนา องค์ความรู้ 6. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชมรม/พ่อ/แม่/ ผู้ดูแลเด็ก/ความรู้เพื่อการพัฒนาเด็ก 7. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ ผู้บริหาร นักวิชาการ จากศูนย์/สสจ./รพศ./รพท./รพช./ PCU/ครู/ ผดด./อบต. 4. สร้างความตระหนัก ขับเคลื่อนทางสังคมประชาสัมพันธ์ความสำคัญ “พัฒนาเด็ก” 8. วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ MCH - คลินิกฝากครรภ์/คลินิกเด็กดีคุณภาพ - รูปแบบบริการส่งเสริมสุขภาพเด็ก เอดส์ - ประเมินผลกระทบเด็ก เอดส์ - ประเมินสมุดบันทึกสุขภาพ 5. มาตรการทางกฎหมาย เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • รวมพลคนกินนมแม่ 10,000 คน • ประกวดสุดยอดคุณแม่ • สัมมนาสื่อมวลชน • ประชาสัมพันธ์ วิทยุ โทรทัศน์ เอกสาร • โครงการนิเทศ ติดตามงานอนามัยแม่และเด็ก • 16. โครงการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักฯ • 17. รายงานเฉพาะกิจ ก1 ก2 6. เฝ้าระวัง ควบคุม กำกับ ประเมินผล 13.โครงการผลักดัน Code milk 14.โครงการสร้างทีมเฝ้าระวัง Code milk ระดับจังหวัด

  34. แบบฟอร์ม Strategy Risk Profile กรมอนามัย ปี 2551

  35. คำอธิบายการกรอกแบบฟอร์ม Strategy Risk Profile กรมอนามัยปีงบประมาณ 2551

  36. ขอบคุณค่ะ

More Related