1 / 9

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานโรคเร่งด่วน. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก. ประจำสัปดาห์ที่ 23 เ ดือน มิถุนายน 25 50 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 9 มิ.ย. 50 ). เปรียบเทียบสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ณ สัปดาห์ที่ 23 2550 2549 2548 2547 2546

jag
Télécharger la présentation

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานโรคเร่งด่วน สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประจำสัปดาห์ที่ 23 เดือนมิถุนายน 2550 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 9มิ.ย.50) เปรียบเทียบสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ณ สัปดาห์ที่ 23 2550 25492548 2547 2546 ป่วย (ราย) 13,611 10,969 13,158 8,220 22,053 ตาย (ราย) 14 14 23 11 22 อัตราป่วย 21.66 17.57 21.23 13.09 35.11 อัตราป่วยตาย0.10 0.13 0.17 0.13 0.10 จำนวนผู้ป่วยปี 2550เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ร้อยละ 24.09 แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

  2. แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกแยกรายเดือน ปี2550 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 9มิ.ย.50 )

  3. แผนที่ประเทศไทย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสม และรายเดือน (รง.506) ปี2550 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 12 มิ.ย. 2550) (เดือน มิถุนายน ณ วันที่ 12 มิ.ย.2550) N N ภาคเหนือ 11.39 ภาคเหนือ 2.03 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 14.51 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0.64 1. สมุทรสาคร 67.46 2. ตราด 61.83 3. สงขลา 61.78 4. จันทบุรี 58.92 5. ปัตตานี 56.16 6. ยะลา 51.25 7. สุราษฎร์ธานี 45.28 8. สมุทรปราการ 40.99 9. ร้อยเอ็ด 39.01 10. พังงา 37.08 1. เชียงราย 15.01 2. จันทบุรี 4.78 3. พัทลุง 2.98 4. สุราษฎร์ธานี 2.81 5. ศรีสะเกษ 2.70 6. เพชรบูรณ์ 2.59 7. ร้อยเอ็ด,กาญจนบุรี 2.52 8. กาฬสินธุ์ 2.15 9. สมุทรสงคราม 2.05 10. ยโสธร 1.66 ภาคกลาง 21.60 ภาคกลาง 0.41 ภาคใต้ 0.85 ภาคใต้ 33.32 แหล่งข้อมูล : รายงานข้อมูล 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จัดทำโดย: กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง จัดทำเมื่อ : วันที่ 13 มิถุนายน 2550 แหล่งข้อมูล : รายงานข้อมูล 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จัดทำโดย: กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง จัดทำเมื่อ : วันที่ 13 มิถุนายน 2550

  4. อัตราป่วยใน 10 อำเภอทั่วประเทศ จากข้อมูลรายงานโรคเร่งด่วน(E2) ณ วันที่ 1 มกราคม - 9 มิถุนายน 2550 มีดังนี้

  5. กำหนดให้มีการประชุมวิชาการโรคไข้เลือดออกระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2(Second International Conference on Dengue and Dengue Haemorrhagic Fever) กำหนดจัดประชุม ระหว่างวันที่ 15-17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 โรงแรมรอยัลภูเก็ต ซิตี้จังหวัดภูเก็ต ประธานคือ นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ Theme : Global Innovation for Combating Dengue Infection ปี 2550 : เตรียมสถานที่และการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ขณะนี้อยู่ระหว่างเตรียมข้อมูลที่จะนำเสนอบนเว็บไซต์

  6. 1. มาตรฐาน/แนวทางการดำเนินงาน กลยุทธ์ 1.1 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและ มาตรฐานของทีมปฏิบัติการควบคุมโรค (SRRT) ระดับพื้นที่ 1.2 การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมและเครือข่ายในการ ป้องกันควบคุมโรค โดยเฉพาะในเขตเมือง และโรงเรียน 1.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1.4 การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสาธารณะ

  7. 2. ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2550 • ภาพรวมทั้งประเทศ • 2.1 ร้อยละ 80 ของจังหวัดในพื้นที่เสี่ยง เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก • ได้ตามมาตรฐาน • 2.2 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย • - ร้อยละ 80ของชุมชน (เทศบาลเมือง/นคร และเขต กทม.) มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน (House Index)ได้ไม่เกิน 10 ( HI  10 ) • - ร้อยละ 80ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีค่า • ดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index =0 ( CI = 0) • - ร้อยละ 80ของโรงเรียนระดับประถม/มัธยม มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย • Container Index =0 ( CI = 0) • ระดับจังหวัด • อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (DF+DHF+DSS)ลดลงอย่างน้อย 20% • เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน 5ปี ย้อนหลัง (2544-2548)(คำนวณจากจำนวนผู้ป่วยรายเดือน)

  8. 2. ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2550 ความก้าวหน้า ในการดำเนินงาน ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2550 2.1 ประชุมประเมินผลโครงการเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลาย ปี 2550 ระหว่างวันที่ 22 – 23 พฤษภาคม 2550 เพื่อชี้แจง และทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการสุ่มสำรวจ และการนำข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดทำข่าวกรองโรคไข้เลือดออก 2.2 กำหนดจัดประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก (War room) ผ่านศูนย์ Video Conference กรมควบคุมโรค ทุกวันอังคาร เวลา 13.30 – 15.00 น. เพื่อเตรียมรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกระบาด เริ่มประชุม ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2550 โดยนายแพทย์เสรี หงษ์หยก เป็นประธาน

  9. THANK YOU

More Related