1 / 28

นโยบายการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

นโยบายการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. โดย ดร. ชินภัทร ภูมิรัตน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. บทบาทหน้าที่ของสำนักบริหารงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน. เป็นหน่วยงานส่งเสริม ประสานงาน และดำเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาเอกชน. เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการศึกษาเอกชน

Télécharger la présentation

นโยบายการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดย ดร. ชินภัทร ภูมิรัตน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

  2. บทบาทหน้าที่ของสำนักบริหารงานคณะกรรมการบทบาทหน้าที่ของสำนักบริหารงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นหน่วยงานส่งเสริม ประสานงาน และดำเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาเอกชน เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการศึกษาเอกชน เกณฑ์มาตรฐานกลางในการจัดการศึกษาเอกชน รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ การประกันคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาเพื่อปรับปรุงคุณภาพการศึกษาเอกชน

  3. บทบาทหน้าที่ของสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ต่อ) เป็นศูนย์ส่งเสริมการสนับสนุนข้อมูลและทะเบียนกลางทางการศึกษาเอกชนตลอดจนติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาเอกชน ดำเนินการเกี่ยวกับกองทุนทางการศึกษา การอุดหนุนการศึกษา การคุ้มครองการทำงาน สิทธิประโยชน์ของครู บุคลากรทางการศึกษา

  4. งบบุคลากร จำนวน 106,460,400 บาท ร้อยละ 0.61 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ได้รับการจัดสรรทั้งสิ้น17,296,013,500 เพิ่มขึ้นจากงบประมาณพ.ศ. 2551 คิดเป็นร้อยละ 12.7 งบประมาณประจำปีงบประมาณ 2552 งบดำเนินงาน จำนวน 63,353,400 บาท ร้อยละ0.37 งบเงินอุดหนุน จำนวน 17,126,199,700 บาท ร้อยละ 99.02

  5. การขอแก้ไขพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 • การประกันสังคมตามมาตรา 86 • การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินประกอบด้วย มาตรา 23 มาตรา 25 มาตรา 27 และมาตรา 159 • ค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นประกอบด้วย มาตรา 32 มาตรา 33 และมาตรา 34

  6. การขอแก้ไขพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550(ต่อ) • ทรัพย์สินการบัญชีประกอบด้วยมาตรา 44 และมาตรา 45 • ตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มาตรา 14 • สภาการศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยร่างพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550ประกอบด้วยมาตรา 47 และ มาตรา 48 เพิ่มเติม

  7. หลักการเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวหลักการเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สำหรับช่วยเหลือครูโรงเรียนเอกชน • ครูโรงเรียนเอกชนได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเช่นเดียวกับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2551 • ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับเงินเดือนไม่ถึงเดือนละ 11,700 บาท ให้ ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ 1,500 บาท แต่เมื่อรวม แล้วต้องไม่เกิน 11,700 บาท • ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับเงินเดือนไม่ถึงเดือนละ 8,200 บาท ให้ ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากเงินเดือนให้ถึง 8,200 บาท • กระทรวงศึกษาธิการจะต้องทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ

  8. มีโรงเรียนที่ยื่นคำขอขยายระยะเวลาในการจัดทำตราสารจัดตั้งต่อสำนักบริหารงานฯ จำนวน 2,289 โรง จำแนกเป็น การขอขยายเวลาในการดำเนินการตามมาตรา 159 แห่ง พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 • ประเภทสามัญศึกษา จำนวน 2,073 โรง • กรุงเทพมหานคร จำนวน 552 โรง • ส่วนภูมิภาค จำนวน 1,521 โรง • ประเภทอาชีวศึกษา จำนวน 216 โรง • กรุงเทพมหานคร จำนวน 52 โรง • ส่วนภูมิภาค จำนวน 164 โรง

  9. การกำหนดให้มีการบันทึกเครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง และการประเมิน ทรัพย์สินของโรงเรียนที่มีอยู่เป็นจำนวนมากทำให้ไม่สามารถสำรวจ ให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด • การประเมินราคาทรัพย์สิน ทุนทรัพย์ ต้องดำเนินการด้วยความรอบคอบ เพราะอาจส่งผลกระทบต้อการลงทุนของโรงเรียนในอนาคตได้ • โรงเรียนมีหุ้นส่วนที่มีอำนาจในที่ดินหลายคน เหตุจำเป็นในการขอผ่อนผัน

  10. คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนยังไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการโอนหรือการส่งมอบสิทธิครอบครองที่ดิน เหตุจำเป็นในการขอผ่อนผัน (ต่อ) • เกิดความคลาดเคลื่อนระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงการคลัง เกี่ยวกับการลงทรัพย์สินในตราสารจัดตั้ง • โรงเรียนยังไม่มีความเข้าใจในการเสียภาษี อาทิ ภาษีโรงเรือน ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีรายได้ ฯลฯ ในการโอนหรือทำหนังสือยินยอมให้ใช้ ซึ่งต้องเสียภาษีทั้งที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง • โรงเรียนมีภาระหนี้สิน ติดจำนองที่ดินละอาคารกับธนาคาร

  11. ต้องเสนอนโยบายเกี่ยวกับ ต้องเสนอนโยบายเกี่ยวกับ การศึกษาเอกชน พัฒนาและสนับสนุน โรงเรียน กำหนดมาตรการ ช่วยเหลือครู อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนที่กำหนด ไว้ใน พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550

  12. จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับทิศทาง จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับทิศทาง ในการจัดการศึกษาเอกชน แนวดำเนินการในการ จัดการศึกษาเอกชน ต่างประเทศ จัดทำข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับสัดส่วน แนวโน้ม การคงอยู่ ปัญหาในการ จัดการศึกษาเอกชน ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนจะต้อง สนับสนุนงานดำเนินงาน

  13. ผู้บริหาร ร้อยละ 6.25 อาจารย์ประจำ ร้อยละ 60.21 อาจารย์อัตราจ้าง ร้อยละ 3.34 โรงเรียนเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา ที่ได้รับการประเมินภายนอก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549-2550 จำนวน 104 แห่ง พบว่ามีอาจารย์และ บุคลากรสนับสนุน แยกเป็น

  14. อาจารย์พิเศษ ร้อยละ 4.11 บุคลากรสายสนับสนุนประจำ ร้อยละ 19.79 บุคลากรสายสนับสนุน อัตราจ้าง ร้อยละ 19.79 โรงเรียนเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา ที่ได้รับการประเมินภายนอก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549-2550 จำนวน 104 แห่ง พบว่ามีอาจารย์และ บุคลากรสนับสนุน แยกเป็น

  15. ต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 4.73 ปริญญาโท ร้อยละ 8.95 คุณวุฒิของอาจารย์ผู้สอน ปริญญาตรี ร้อยละ 86.19 ปริญญาเอก ร้อยละ 0.13

  16. นักศึกษาในสาขาวิชาต่างๆนักศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ • พณิชยกรรมมากที่สุด ร้อยละ 44.52 • อุตสาหกรรมอันดับรอง ร้อยละ 28.78 • บริหารธุรกิจ ร้อยละ 24.42 • การท่องเที่ยวและบริหารธุรกิจโรงแรม ร้อยละ 1.55 • เทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ 0.15 • ศิลปกรรม ร้อยละ 2.12 • สามัญ (วิทย์-คณิต)น้อยที่สุด ร้อยละ 2.26 • เกษตรกรรมไม่มีนักศึกษาเรียน

  17. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 การประกันคุณภาพภายใน • โรงเรียนเอกชนประเภทอาชีวศึกษาร้อยละ 85มีความกระตือรือร้นในการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน

  18. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา • ผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพรวมทุกประเภทวิชาโดยภาพรวม เท่ากับ ร้อยละ83.06 • มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ภายในระยะเวลาที่ กำหนด ระดับ ปวช. ร้อยละ 59.52

  19. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ต่อ) มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา • อัตราส่วนอาจารย์ประจำที่มีวุฒิทางวิชาชีพต่อนักศึกษาเท่ากับ 1 : 33 • ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์โดย ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 • ความเพียงพอและทันสมัยของครุภัณฑ์ เครื่องมือ อุปกรณ์การศึกษา มีค่าเฉลี่ยระดับคะแนนตัวบ่งชี้เท่ากับ 2.61 มีความพอเพียงเหมาะสม กับหลักสูตร

  20. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ต่อ) มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา ต่อ • จำนวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา โดยภาพรวมเฉลี่ย เท่ากับ 48 กิจกรรม/โครงการต่อปี • ประสิทธิผลในการจัดกิจกรรมเท่ากับ 2.30 แสดงว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมเป็น อย่างดี

  21. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 4 การสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา • จำนวนผลงาน สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม การใช้ประโยชน์มีค่าเฉลี่ย ระดับคะแนนตัวบ่งชี้เท่ากับ 2.23 แต่นำไปประกวดและเผยแพร่ ระดับชาติมีน้อยมาก • งบประมาณในการสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และ นักศึกษาเท่ากับ ร้อยละ 1.61 ต่อปี

  22. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 5 การบริการทางวิชาการและวิชาชีพต่อ ชุมชนและสังคม • บริการวิชาการที่ตอบสนองต่อชุมชนเท่ากับ 18 กิจกรรม/โครงการ/ปี ระดับคะแนนตัวบ่งชี้ เท่ากับ 2.39 มีค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง

  23. ผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 6 การบริหารและการจัดการ ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนประเภทอาชีวศึกษา • มีภาวะผู้นำที่ดี • มีวิสัยทัศน์และความมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนส่งเสริมและจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพ • มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ • มีแผนพัฒนาโรงเรียนและกระบวนการทำงานที่ชัดเจน

  24. ค่าเฉลี่ยคะแนน มาตรฐาน มาตรฐาน 3.98 1. การประกันคุณภาพภายใน 4.25 2. คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา 4.16 3. การจัดการเรียนการสอน ด้านอาชีวศึกษา 4.12 4. นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ ของอาจารย์และนักศึกษา 4.24 5. การให้บริการและอาชีวศึกษาต่อ ชุมชนและสังคม 4.18 6. การบริหารและการจัดการ 4.16 ค่าเฉลี่ยภาพรวม สรุปผล การ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก

  25. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา จุดเด่น • มีภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมสวยงาม • มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของสถานประกอบการ • สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหารชัดเจน • มีครุภัณฑ์ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์เพียงพอ • มีระบบดูแลนักเรียนเป็นอย่างดี

  26. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา จุดควร พัฒนา • สนับสนุนให้อาจารย์ได้รับการพัฒนาในสาขาวิชาชีพ ที่ตนเองสอน • มีการอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพภายในแก้บุคลากร • ปรับปรุงระบบการติดตามผู้สำเร็จการศึกษา • จัดระบบศูนย์ข้อมูลสารสนเทศให้สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน • สถานศึกษาควรให้ความสำคัญงานแนะแนว

  27. นโยบายการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ให้การศึกษาเอกชนมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น จัดทำแผนการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดย สช.เป็น BOI ด้านการศึกษา แบ่งภารกิจระหว่างรัฐ-เอกชนให้ชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน แบ่งสาขาความเป็นเลิศ การพัฒนาบุคลากรของรัฐ จะต้องจัดสรรโควต้าโรงเรียนเอกชน ดูแลสวัสดิการครูโรงเรียนเอกชน

  28. ขอขอบคุณ

More Related