1 / 33

เกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ?

เกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ?. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. รศ. สมพร อิศวิลานนท์. สถาบันคลังสมองของชาติ. หัวข้อการนำเสนอ.

Télécharger la présentation

เกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน รศ. สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ

  2. หัวข้อการนำเสนอ เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ●ความสำคัญของภาคการเกษตรของไทย ●การก้าวไปสู่นโยบายการค้าเสรีและความมุ่งหวังของประเทศไทย ● ทำอย่างไรจึงจะฉกฉวยโอกาสนโยบายจากการค้าเสรี

  3. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ความสำคัญของภาคการเกษตรส่งออกไทย ● ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร ติด 1 ใน 10 ของโลก ● มีมูลค่าการส่งออกประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นสินค้าเกษตรเบื้องต้นประมาณร้อยละ 60 ที่เหลือเป็นสินค้าเกษตรแปรรูปและอาหาร ● การเกษตรเกี่ยวข้องกับประชากรจำนวนมากประมาณร้อยละ 60 ของประชากรทั้งประเทอยู่ในภาคการเกษตร การเปิดเสรีทางการค้าหากทำให้รายได้ของเกษตรกรไทยเพิ่มขึ้น ก็จะสร้างความมั่งคั่งให้กับภาคการเกษตรไทยได้

  4. มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรในปี 2551 ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท

  5. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สัดส่วนของมูลค่าสินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูปส่งออก

  6. มูลค่าการนำเข้าสินค้าเกษตรที่สำคัญ ปี 2551 เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ที่มา:ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  7. การก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรีของไทยการก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรีของไทย เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

  8. การเปิดตลาด อื่นๆ กระบวนการด้านการนำเข้า-ส่งออกสินค้า WTO มาตรการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายใน มาตรฐานสินค้า เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรีและการแข่งขันทางการค้า ●WTO ได้พัฒนามาจากข้อตกลงของ GATT ได้รับการจัดตั้งเมื่อ 1 มกราคม 2538 โดยประเทศไทยได้เป็นหนึ่งในสมาชิกองค์การการค้าโลกและได้ให้ความตกลงทางการค้าไว้กับ WTO ●ความตกลงที่สำคัญภายใต้ WTO

  9. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน กลุ่มความตกลงทางการค้า ●กลุ่มความตกลงว่าด้วยการเปิดตลาดที่สำคัญได้แก่การเปิดตลาดสินค้าเกษตร ● กลุ่มความตกลงที่เกี่ยวกับระเบียบกระบวนการด้านการนำเข้า-ส่งออกสินค้า ได้แก่พิธีการทางศุลกากร การตรวจสอบก่อนการส่งออก เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดสินค้า ระเบียบว่าด้วยวิธีการออกใบอนุญาตการนำเข้า ●กลุ่มความตกลงที่เกี่ยวกับมาตรฐานสินค้า (1)ความตกลงว่าด้วยการใช้มาตรการสุขอนามัย (SPS Measures)(2)ความตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางด้านเทคนิคต่อการค้า ( TBT) ●กลุ่มความตกลงที่เกี่ยวกับมาตรการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายใน (Safeguards, Anti-Dumping, Subsidies and Countervailing Measures) ●กลุ่มความตกลงอื่นๆ

  10. เขตการค้าเสรีอาเชียน ความเป็นมา ได้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี (AFTA) ในปี 2535 เพื่อขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน สร้างความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการขยายการลงทุนจากต่างประเทศ และสร้างอำนาจการต่อรอง เป้าหมายหลัก คือ ลด/เลิก ภาษีสินค้าให้หมดไป พร้อมกับยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (ยกเลิกโควตาสินค้า) เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

  11. ตารางที่ 1.1 กลุ่มของพืช ชนิดของพืชเป้าหมาย ศูนย์พัฒนาฯ เป้าหมาย และจำนวนเกษตรกรตัวอย่าง เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ประชาคมการค้าอาเซียน ●นโยบายการค้าเสรีอาเชียน (Association of Southeast Asia Nations: ASEAN) มีข้อตกลงลงว่าด้วย ASEAN Free Trade Area (AFTA)แรกเริ่มมี 5 ประเทศ และได้ขยายเพิ่มเป็น 10 ประเทศ นอกจากนี้มี ASEAN + 3 เป้นต้น ข้อตกลงทางการค้าดังกล่าวอยู่ในรูปของพหุภาคี ●สำหรับนโยบายการค้าเสรีในรูปทวิภาคีความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับจีน ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับออสเตรเลีย  ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับนิวซีแลนด์  ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่น  ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่น  และยังมีความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับประเทศอื่นๆที่ยังอยู่ใน ระหว่างการเจรจาอีกหลายประเทศ

  12. การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับสมาชิกอาเซียนอื่น 9 ประเทศ เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ที่มา : กรมศุลกากร

  13. พันธกรณีของไทย - ต้องลดภาษีทุกรายการสินค้าเหลือ 0 % ในปี 2553 (ยกเว้น กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก เนื้อมะพร้าวแห้ง เหลือ 5%) - ต้องยกเลิกโควตาทุกสินค้าให้หมดไปในปี 2553 เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน พันธกรณีของไทย ภายใต้เขตการค้าเสรี AFTA

  14. สินค้าที่ยกเลิก โควตาแล้วมี 13 รายการ ( แต่ยังไม่มีมาตรการรองรับการเปิดตลาด) ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลือง น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม หอมหัวใหญ่ เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ กระเทียม มันฝรั่ง ไหมดิบ ลำไยแห้ง พริกไทย น้ำตาล และใบยาสูบ สินค้าที่อยู่ระหว่างดำเนินการออกประกาศยกเลิกโควตา และต้อง มีมาตรการรองรับการเปิดตลาด 10 รายการได้แก่ 1) ชา 2) เมล็ดกาแฟ 3) กาแฟสำเร็จรูป 4) น้ำนมดิบ/นมพร้อมดื่ม 5) นมผงขาดมันเนย 6) มะพร้าวผล 7) เนื้อมะพร้าวแห้ง 8) น้ำมันมะพร้าว 9) เมล็ดถั่วเหลือง 10) ข้าว เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

  15. การส่งออกระหว่างปี 2546-48 เที่ยบกับ 2549-51 เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.35 หรือเพิ่มขึ้นจาก 6,555 ล้านบาท เป็น 6,971 ล้านบาท ส่วนการนำเข้าเพิ่มจาก 2,186 ล้านบาท เป็น 3,794 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 73.6 ภาพรวมการค้าพืชผักระหว่างประเทศของประเทศไทยภายหลังการมีข้อตกลง FTA

  16. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน  ดุลการค้าพืชผักมีแนวโน้มแคบลงในช่วงระหว่างปีเฉลี่ย 2546-48 และ 2549-51 โดยดุลการค้าได้ลดลงจาก 4,369 ล้านบาท เป็น 3,177 ล้านบาท ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือลดลงร้อละ 27.3 ดุลการค้าพืชผักระหว่างประเทศของประเทศไทย ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร

  17. การส่งออก-นำเข้าพืชผักสดแช่เย็นของประเทศของไทย ปี 2551 • การส่งออก มูลค่าการส่งออกรวมเท่ากับ 4,035.69 ล้านบาท • โดยส่งออกภายในภูมิภาคเอเชียคิดเป็นร้อยละ 52.84 • กลุ่ม EU มีมูลค่าการส่งออกสูงที่สุด ร้อยละ 37.14 • รองลงมาได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก (ร้อยละ 28.77) • การนำเข้าไทยนำเข้าสินค้าผักสดแช่เย็นเป็นมูลค่ารวม 2,793.80 ล้านบาท • ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก โดยมีมูลค่าการนำเข้าผักสดแช่เย็นถึงร้อยละ 62.68 • รองลงมาได้แก่ กลุ่ม ASEAN มีมูลค่าการนำเข้าร้อยละ 20.34 • ตลาดนำเข้านอกภูมิภาคเอเชียที่สำคัญ คือ กลุ่ม North America (ร้อยละ 11.36) ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร

  18. ตารางที่ 1.1 กลุ่มของพืช ชนิดของพืชเป้าหมาย ศูนย์พัฒนาฯ เป้าหมาย และจำนวนเกษตรกรตัวอย่าง เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การค้าผลไม้ของประเทศไทย

  19. ภาพรวมการค้าผลไม้ระหว่างประเทศของประเทศไทยภายหลังมีข้อตกลง FTA การส่งออกผลไม้ระหว่างปี 2546-48 เที่ยบกับ 2549-51 เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.4 หรือเพิ่มขึ้นจาก 11,029 ล้านบาท เป็น 13,928 ล้านบาท ส่วนการนำเข้าเพิ่มจาก 4,697 ล้านบาท เป็น 7,827 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 67 ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร

  20. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ดุลการค้าผลไม้ระหว่างประเทศของประเทศไทย  ดุลการค้าผลไม้มีแนวโน้มแคบลงในช่วงระหว่างปีเฉลี่ย 2546-48 และ 2549-51 โดยดุลการค้าได้ลดลงจาก 6,332 ล้านบาท เป็น 6,101 ล้านบาท ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือลดลงร้อละ 3.65 ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร

  21. การส่งออก-นำเข้าผลไม้สดของประเทศของไทย ปี 2551 • การส่งออก ไทยมีการส่งออกผลไม้สดรวมมูลค่า 9,878.81ล้านบาท • ตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก คิดเป็นร้อยละ 58.61 • รองลงมาได้แก่ กลุ่ม ASEAN (ร้อยละ 22.87) • ตลาดส่งออกนอกภูมิภาคเอเชียที่สำคัญได้แก่ กลุ่ม North America (ร้อยละ 6.68) • การนำเข้า มูลค่าการนำเข้าผลไม้สดเท่ากับ 7,221.54 ล้านบาท • ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก โดยมีมูลค่าการนำเข้าจากกลุ่มนี้ร้อยละ 66.28 • รองลงมา นำเข้าจากนอกภูมิภาคเอเชียคือกลุ่ม North America (ร้อยละ 12.80) ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร

  22. ตารางที่ 1.1 กลุ่มของพืช ชนิดของพืชเป้าหมาย ศูนย์พัฒนาฯ เป้าหมาย และจำนวนเกษตรกรตัวอย่าง การส่งออกและนำเข้าผลไม้สดของไทย ชนิดผลไม้ที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด 10 อันดับ ชนิดผลไม้ที่มีมูลค่าการนำเข้าสูงสุด 10 อันดับ ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร

  23. ประเทศไทยจะฉกฉวยประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าได้อย่างไรประเทศไทยจะฉกฉวยประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าได้อย่างไร ● การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันทั้งในด้านการผลิตและการค้า จะแข่งขันได้เมื่อ: เกษตรกรต้องปรับตัวไปสู่การผลิตสินค้ามีคุณภาพมีมาตรฐานในระบบการค้าสากล มีประสิทธิภาพในการผลิต และมีต้นทุนของสินค้าที่ต่ำ (มีเทคโนโลยีที่ประหยัดต้นทุน มีความได้เปรียบในค่าจ้าง แรงงาน มีความได้เปรียบในสภาพแวดล้อมการผลิต) ประเทศจะต้องยกระดับการลงทุนวิจัยด้านการเกษตรเพื่อยกระดับความสามารถและศักยภาพในการแข่งขัน

  24. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การปรับตัวของภาคการเกษตรไทยภายใต้กติกาการค้าเสรี

  25. Good Agricultural Practice: GAP การผลิตสินค้าเกษตร พืชผักและผลไม้เพื่อการส่งออกมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามระเบียบมาตรฐานการนำเข้าและมาตรฐานด้านสุขอนามัยของแต่ละประเทศ เช่นในกรณีของสหภาพยุโรปไม่ได้ใช้ระบบ GlobalGAP ญี่ปุ่นมี JasGAP นอกเหนือจากระบบ GAP โดยทั่วไปหรือในกรณีของสหรัฐอเมริกาได้กำหนดให้มีการฉายรังสีในผลไม้ 6 ชนิดที่จะนำเข้าไปในสหรัฐฯ ทั้งนี้ในแต่ละประเทศนอกจากจะได้กำหนดหน่วยงานที่จะออกใบรับรองแล้ว ยังมีหน่วยงานที่จะคอยตรวจสอบประเมินในแหล่งผลิตสินค้านั้นๆตามมาอีกด้วย

  26. Good Manufacturing Practice (GMP) เน้นให้ความสำคัญในด้านบรรจุภัณฑ์การขนส่ง และการรับรองในระบบการผลิตเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค(GMP) ทำผู้บริโภคเชื่อมั่นในมาตรฐานความปลอดภัย

  27. การลงทุนวิจัยด้านการเกษตรเพื่อยกระดับความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของประเทศการลงทุนวิจัยด้านการเกษตรเพื่อยกระดับความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

  28. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การอุดหนุนการผลิตภายในประเทศที่ไม่บิดเบือนการค้า • การอุดหนุนที่ไม่บิดเบือนทางการค้า (Green Box) งานบริการทั่วไป งานวิจัย การควบคุมโรคและแมลง ด้านอาหาร และเก็บสต๊อกอาหาร ทำได้ ไม่จำกัดจำนวน ปรับโครงสร้างด้าน การลงทุน บรรเทาความสูญเสีย จากภัยธรรมชาติ

  29. มิติต่อไปการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนมิติต่อไปการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียน เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ●เป็นประเด็นที่ควรจะต้องเฝ้าจับตาดูและก้าวให้ทัน

  30. การเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียน รมต. เศรษฐกิจ 10 ประเทศลงนามใน ความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน (ACIA) เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ACIA คือ การปรับปรุงความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน + ความตกลงส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน - ครอบคลุม 5 สาขา : เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมการผลิต และครอบคลุมการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการลงทุนในหลักทรัพย์ ผู้ได้ประโยชน์ : นักลงทุนในอาเซียน และนักลงทุนต่างชาติที่มีกิจการอยู่ในอาเซียนและต้องการขยายการลงทุนไปในประเทศอื่นในอาเซียน เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

  31. พันธกรณีของไทยภายใต้ ACIA ภายใต้ความตกลงฯ เดิม ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่ปี 1998ไทยผูกพันเปิดเสรีภายในปี 2010 (ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 เป็นต้นไป) ใน 3 สาขา ดังนี้ - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - การทำไม้จากป่าปลูก - การเพาะ ขยาย และปรับปรุงพันธุ์พืช มติ กนศ. ครั้งที่ 2/2552(3 ส.ค. 2552) เห็นชอบให้เปิดเสรีตามพันธกรณีใน 3 สาขาข้างต้น โดยให้เฉพาะนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้ 100% ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 เป็นต้นไป เพื่อไม่ให้ถูกฟ้องร้องและเป็นไปตามแนวทางการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

  32. ขอบคุณ

More Related