1 / 30

การประชุมชี้แจงการดำเนินการตัวชี้วัดที่ : กพร _16

การประชุมชี้แจงการดำเนินการตัวชี้วัดที่ : กพร _16 “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพของการบริหารจัดการภาครัฐ” วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2550 เวลา 9.30 -12.00 น. ณ ห้องประชุม 1014 ชั้น 10 อาคารกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ

jatin
Télécharger la présentation

การประชุมชี้แจงการดำเนินการตัวชี้วัดที่ : กพร _16

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจงการดำเนินการตัวชี้วัดที่ : กพร_16 • “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพของการบริหารจัดการภาครัฐ” • วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2550 เวลา 9.30 -12.00 น. • ณ ห้องประชุม 1014 ชั้น 10 อาคารกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ • 1.1 รายละเอียดตัวชี้วัด16 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • 1.2 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดที่ 16 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพของการบริหารจัดการภาครัฐ • 1.3 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องพิจารณา • 2.1 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • 2.2 มอบหมายหน่วยงานเป็นคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

  2. ระเบียบวาระที่ 1.3

  3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550

  4. ที่มา  • พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 ได้กำหนดให้ “การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ” • พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 กำหนดให้ส่วนราชการบริหารงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังต่อไปนี้ “เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ่มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการที่เกินจำเป็น ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองตามความต้องการ และมีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ”

  5. ที่มา  • ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) กำหนดให้มีการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงานเพื่อยกระดับขีดความสามารถ และมาตรฐานการทำงานของหน่วยราชการให้อยู่ในระดับสูงเทียบเท่าเกณฑ์สากล (High performance) • การบริหารราชการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)ฯ และ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ ดังที่กล่าวมา จำเป็นต้องมีเกณฑ์การประเมินกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติงานที่เป็นที่ยอมรับ • สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ได้จัดทำหลักเกณฑ์และ แนวทางการพัฒนายกระดับมาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้ส่วนราชการนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณการบริหารจัดการองค์เข้าสู่ระดับมาตรฐานสากล รวมทั้งผลักดันการพัฒนาระบบราชการของไทย

  6. ที่มา  • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีพื้นฐานทางเทคนิคและกระบวนการเทียบเท่าเกณฑ์รางวัลคุณภาพของนานาชาติ (พัฒนามาจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา :Malcolm Baldrige National Quality Award ; MBNQA) ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้ส่วนราชการมีกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น โดยมีเป้าหมายคือประโยชน์สุขของประชาชนและประโยชน์สูงสุดของประเทศ • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของไทยได้ริเริ่ม จากดำริของ นายวิษณุ เครืองาม (รองนายกรัฐมนตรีและประธาน ก.พ.ร.ในสมัยนั้น) ได้กล่าวในพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2548 โดยมีใจความตอนหนึ่งว่า ...

  7. คำกล่าวของนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ในพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปี 2547 “เมื่อสองปีเศษที่ผ่านมารัฐได้ปฏิรูประบบราชการ หัวใจสำคัญของการ ปฏิรูประบบราชการไม่ได้อยู่ที่การมีกระทรวง ทบวง กรม มากขึ้นหรือน้อยลง แต่ อยู่ที่การให้ผู้ปฏิบัติราชการทั้งหลายปฏิบัติงานของตนด้วยจิตวิญญาณ ด้วย ความมีสำนึก ด้วยความรับผิดชอบ ด้วยความมีประสิทธิภาพ ด้วยความมี วิสัยทัศน์ ด้วยการรู้จักประเมินผล รู้จักการแข่งขัน รู้จักการปรับปรุง รู้จักการ พัฒนา ซึ่งสปิริตทั้งหมดที่ว่านี้ คือ สปิริตของรางวัลคุณภาพแห่งชาตินี่เอง ความ ต่างอยู่ตรงที่ว่าใช้ในระบบของธุรกิจเอกชน ท่านนายกรัฐมนตรีได้ปรารภว่า หากนำไปใช้ในระบบงานของรัฐ ปรับปรุงประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม และถ้าหากมีรางวัลออกมาได้ว่าหน่วยงานใดได้คุณภาพการ ปฏิบัติราชการแห่งชาติหรือบริหารงานรัฐกิจสู่ความเป็นเลิศ ได้แล้วไซร้ประชาชนจะได้รับการตอบสนองและการบริการ ที่น่าจะดีขึ้นกว่านี้อีกเป็นอันมากซึ่งรัฐจะต้องคิดอ่านหาทาง นำเรื่องนี้ไปปรับปรุงหรือประยุกต์ใช้ในโอกาสต่อไป”

  8. วัตถุประสงค์  • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐ ให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • เพื่อให้ส่วนราชการนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร และพัฒนาการบริหารจัดการองค์สู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเองและเป็นบรรทัดฐานในการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ

  9. ประโยชน์ที่จะได้รับ • ในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment) จะทำให้ผู้บริหารได้รับทราบว่าส่วนราชการของตนยังมีเรื่องใดบ้างที่ควรจะต้องปรับปรุง • ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการส่วนราชการ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ การส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้นทั้งผลิตและบริการแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งเป็นไป ตาม พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • องค์กรจะมีภาพลักษณ์ที่ดี ได้รับการยอมรับและชื่นชมจากผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับรางวัล และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ส่วนราชการอื่น

  10. ลักษณะสำคัญขององค์กรลักษณะองค์กรความท้าทายขององค์กรลักษณะสำคัญขององค์กรลักษณะองค์กรความท้าทายขององค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ องค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7. ผลลัพธ์ การ ดำเนินการ

  11. ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 ประโยชน์ต่อส่วนราชการ

  12. คำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน Blueprint for Change Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building Knowledge Management e-government MIS ความเชื่อมโยง PMQAกับสิ่งที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  13. จัดทำลักษณะ สำคัญขององค์กร  เพิ่มศักยภาพ คณะทำงาน  จัดทำแผน การพัฒนาฯ  แต่งตั้ง คณะทำงาน  ให้ความรู้ แก่บุคลากร  จัดทำแผน การปรับปรุง และขัดเกลารายงาน  วิเคราะห์โอกาส ในการปรับปรุง และจัดลำดับ  ประเมินตนเอง (SA)  จัดทำรายงานผล การดำเนินงานสำคัญ Application Report

  14. ประชุม/ชี้แจง บริหาร องค์ความรู้  ให้ความรู้ แก่บุคลากร

  15. แต่งตั้ง คณะทำงาน

  16.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  17.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  18.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  19.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  20.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  21.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  22.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  23.      จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง

  24. ระเบียบวาระที่ 2. ข้อเสนอเพื่อโปรดพิจารณา... 2.1 แผนการดำเนินงาน

  25. ประเมินองค์กรและ จัดทำแผนปรับปรุง จัดทำรายงาน เพิ่มศักยภาพ คณะทำงาน จัดทำ ลักษณะองค์กร http://home.dsd.go.th/msdu ให้ความรู้ คณะทำงาน ดำเนินงานภายใต้โครงการ “พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 (อยู่ระหว่างดำเนินการเสนอขออนุมัติโครงการ) ตั้ง คณะทำงาน นำเสนอแผนงาน และเผยแพร่สู่ บุคคลากรในองค์กร

  26. ระเบียบวาระที่ 2. ข้อเสนอเพื่อโปรดพิจารณา... 2.2 แต่งตั้งคณะทำงาน

  27. หมวด 5 • ผชช. • สล.(กจ.) • พบ. • หมวด 1 • รองอธิบดี • สล. • พบ. • หมวด 2 • ผชช. • ผส. • พบ. • หมวด 4 • ผชช. • ผส.(IT) • พฝ. • พบ. • หมวด 3 • ผชช. • สล.(ปชส.) • สำนัก/กองฯที่ให้บริการหลัก/รอง • พบ. • หมวด 6 • ผชช. • สำนัก/กองฯที่ให้บริการหลัก/รอง • พบ. คณะทำงาน (Working Team) หมวด 7 : ผส. เจ้าภาพตัวชี้วัด และ พบ. ลักษณะสำคัญขององค์กร : คณะผู้บริหาร ผชช. พบ. และทุกหน่วยงานในส่วนกลาง

  28. ระเบียบวาระที่ 2. ข้อเสนอเพื่อโปรดพิจารณา... การดำเนินการในขั้นต่อไป เสนอขออนุมัติโครงการฯ 2.1 แผนการดำเนินงาน 2.2 แต่งตั้งคณะทำงาน แต่ละหมวดเสนอรายชื่อทีมงานให้ พบ.

  29. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550

More Related