1 / 40

การแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล และการดำเนินการด้านสัญชาติ

การแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล และการดำเนินการด้านสัญชาติ. โดย. ส่วนประสานราชการ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง. ประเด็นการนำเสนอ.  นโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล.  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการกำหนดสถานะ.  กระบวนการดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล.

jatin
Télécharger la présentation

การแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล และการดำเนินการด้านสัญชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแก้ไขปัญหาสถานะบุคคลการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล และการดำเนินการด้านสัญชาติ โดย ส่วนประสานราชการ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง

  2. ประเด็นการนำเสนอ นโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการกำหนดสถานะ กระบวนการดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล สิทธิหน้าที่ และการควบคุมดูแลชนกลุ่มน้อย การดำเนินการด้านสัญชาติ กรณี การได้สัญชาติไทย

  3. นโยบายของรัฐบาล ในการแก้ไขปัญหาสถานะของชนกลุ่มน้อย ความหมายของ “ชนกลุ่มน้อย” :- กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่มิได้มีสัญชาติไทย มีจำนวนน้อยกว่าเจ้าของประเทศ และมีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างกันไป เข้ามาและพักอาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยวิธีการที่แตกต่างกัน เช่น หลบหนีเข้าเมือง เข้ามาพักอาศัยชั่วคราว หรืออาศัยอยู่ถาวร เป็นต้น

  4. นโยบายที่มีต่อชนกลุ่มน้อยเป็นรายกลุ่มนโยบายที่มีต่อชนกลุ่มน้อยเป็นรายกลุ่ม นโยบายในการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล ในภาพรวม

  5. นโยบายที่มีต่อชนกลุ่มน้อยเป็นรายกลุ่ม ประเภทมีนโยบายในการกำหนดสถานภาพให้อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวร ประมาณ 14 กลุ่ม คือ เวียดนามอพยพ , อดีตทหารจีนคณะชาติและจีนฮ่ออพยพพลเรือน , อดีตโจรจีนคอมมิวนิสต์มลายา , ไทยลื้อ , ผู้อพยพเชื้อสายไทยจากจังหวัดเกาะกงกัมพูชา ,ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย , จีนฮ่ออิสระ , เนปาลอพยพ , ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า , ชาวเขาอพยพเข้ามาก่อนวันที่ 3 ตุลาคม 2528 . ผู้หลบหนีเข้าเมือง ชาวลาวภูเขาอพยพที่เคยอาศัยอยู่ในประเทศไทย , บุคคลบนพื้นที่สูง , ม้งในที่พักสงฆ์ถ้ำกระบอกและ ชาวมอแกน ประเภทมีนโยบายในการกำหนดสถานภาพให้อาศัยอยู่ในประเทศไทยในลักษณะชั่วคราว

  6. นโยบายในการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคลในภาพรวมนโยบายในการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคลในภาพรวม  ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะบุคคล 1. กลุ่มที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยและอาศัยอยู่เป็นเวลานานแล้ว 2. กลุ่มเด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษาในประเทศไทย แต่ไม่มี สถานะที่ถูกต้องตามกฎหมาย 3. กลุ่มคนที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศ 4. กลุ่มคนไร้รากเหง้า 5. กลุ่มแรงงานต่างด้าว (พม่า , ลาว และกัมพูชา) ที่ได้รับการจดทะเบียน 6. กลุ่มอื่นๆ ที่เหลือ

  7. ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิตแก่กลุ่มที่มียุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิตแก่กลุ่มที่มี ชื่ออยู่ในระบบทะเบียนและอยู่ระหว่างรอกระบวนการกำหนดสถานะ ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและสร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพ เข้ามาใหม่ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ

  8. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการกำหนดสถานะบุคคลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการกำหนดสถานะบุคคล “สัญชาติ” แปลมาจาก “Nationality” ในทางกฎหมาย คำว่า Nationality มีความหมายเฉพาะถึงสัญชาติที่เป็นความผูกพันระหว่างบุคคลนั้นสังกัดอยู่กับรัฐใด การถือสัญชาติของบุคคลในรัฐแห่งใดแห่งหนึ่งมีผลต่อการที่รัฐนั้นจะสามารถใช้อำนาจในทางกฎหมายแก่บุคคลดังกล่าว และในทางกลับกันบุคคลผู้ถือสัญชาติของรัฐก็มีสิทธิในด้านต่างๆ เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ซึ่งถือสัญชาติของรัฐนั้น

  9. กฎหมายว่าด้วยสัญชาติ ฉบับปัจจุบัน พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มีผลเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 การได้สัญชาติไทยโดยการเกิดตามหลักสืบสายโลหิต การได้สัญชาติไทยโดยหลักดินแดน การได้สัญชาติไทยโดยการสมรส การได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ การได้สัญชาติไทยโดยผลของกฎหมายล่าสุด ม.23 ของ พ.ร.บ. สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 - จากบิดา - จากมารดา

  10. กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ตาม พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 คือกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับคนต่างด้าว ซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักร ปัจจุบันแบ่งเป็น 2 ประเภท คนอยู่ชั่วคราว (A Non-Resident) คนที่มีถิ่นที่อยู่ถาวร (A Resident)

  11. กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว ตาม พ.ร.บ. การทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ. 2493 คนต่างด้าว หมายถึง คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ ประเภทกำหนดอายุ 1 ปี ประเภทกำหนดอายุ 5 ปี ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคล ในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง พ.ศ. 2543

  12. กระบวนการดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานะกระบวนการดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานะ กรอบการดำเนินงานแก้ไขปัญหาชนกลุ่มน้อย

  13. กลไกการดำเนินงาน - สัญชาติ - คนเข้าเมือง - ทะเบียนคนต่างด้าว - ทะเบียนราษฎร - มติ ครม. - ยุทธศาสตร์ - สมช./นอส. - มท./อนุ กก. - บุคลากร - งบประมาณ

  14. กระบวนการแก้ไขปัญหาสถานะกระบวนการแก้ไขปัญหาสถานะ การกำหนดนโยบาย สมช./ครม. การแปลงนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ สมช./มท. การกำหนดสถานะ มท. “ด้วยหลักการการจัดการที่สมดุลระหว่างสิทธิมนุษยชน ความมั่นคงของมนุษย์ และความมั่นคงของชาติ”

  15. กระบวนการดำเนินงาน มติคณะรัฐมนตรีให้สถานะ เป็นรายกลุ่ม ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา สถานะและสิทธิของบุคคล กระทรวงมหาดไทย การสำรวจทำทะเบียน การควบคุมดูแล การพัฒนาทางสังคม การกำหนดสถานะ

  16. ความหมายสถานะบุคคล “สถานะบุคคล” หมายถึง สถานภาพตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ กฎหมายคนเข้าเมือง และกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.การทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ. 2493 พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534

  17. ประเภทของการพิจารณาให้สถานะถาวรประเภทของการพิจารณาให้สถานะถาวร ประเภทที่ 1 ให้สถานะเป็นบุคคลต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย แก่บุคคลที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย และให้แปลงสัญชาติเป็นไทยเป็นกรณีพิเศษ แก่ผู้ที่มีเชื้อสายไทย ประเภทที่ 2 ให้สัญชาติไทย แก่บุคคลรุ่นบุตร – หลาน ของกลุ่มบุคคลประเภทที่ 1 ประเภทที่ 3 ให้ลงรายการสัญชาติไทยตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางฯ แก่ผู้ที่อาศัยดั้งเดิมและพิสูจน์ได้ว่าเป็นคนไทย

  18. ขั้นตอนการรับและพิจารณาให้สถานะ ขั้นตอนที่ 1การดำเนินการในระดับอำเภอ - รับคำร้องและตรวจสอบคุณสมบัติแล้วส่งจังหวัด ขั้นตอนที่ 2การดำเนินการในระดับจังหวัด - ตรวจสอบความถูกต้องและส่งไปตรวจสอบประวัติ - นำเข้าพิจารณาในคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ 3การดำเนินการในระดับกระทรวง - ตรวจสอบความถูกต้องและส่งไปตรวจสอบประวัติอีกครั้ง - นำเข้าพิจารณาในคณะกรรมการฯ ระดับกระทรวง ขั้นตอนที่ 4การพิจารณาสั่งการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย - นำรายชื่อผู้ที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ นำเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพื่อใช้ดุลพินิจตามกฎหมาย

  19. แผนการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2553

  20. โครงการเร่งรัดให้สถานะกับผู้อพยพเข้ามาอาศัย อยู่ในประเทศไทยเป็นระยะเวลานานฯ จัดตั้งสำนักงานเร่งรัดสถานะระดับจังหวัด  จัดจ้างลูกจ้างชั่วคราว เร่งรัดการรับและพิจารณาคำร้อง กลุ่มที่รัฐบาลมีนโยบายให้สถานะถาวรแล้ว

  21. การสำรวจและจัดทำทะเบียนประวัติการสำรวจและจัดทำทะเบียนประวัติ (สน.บท. รับผิดชอบ) การดำเนินการสำรวจ การจัดทำทะเบียนประวัติ จัดทำบัตรประจำตัว

  22. โครงการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตน ฯ กลุ่มที่ 1 บุคคลที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยที่มีความเกี่ยวพันกับผู้ได้รับการจัดทำทะเบียนประวัติชนกลุ่มน้อยไว้เดิมแต่ตกสำรวจ (ชนกลุ่มน้อย 18 กลุ่ม) จำนวน 148,590 ราย กลุ่มที่ 2 เด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา จำนวน 65,644 ราย กลุ่มที่ 3 กลุ่มบุคคลไร้รากเหง้า จำนวน 3,507 ราย กลุ่มที่ 4 กลุ่มบุคคลที่ทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศไทย จำนวน 23 ราย รวมทั้งสิ้น 4 กลุ่ม จำนวน 217,764 ราย

  23. การควบคุมดูแลและสิทธิพื้นฐานการควบคุมดูแลและสิทธิพื้นฐาน ควบคุมโดย ระเบียบ มท. /ประกาศ มท. ให้พักอาศัยในเขตพื้นที่ที่กำหนด อนุญาตให้ออกนอกเขตตามกำหนด  อนุญาตให้ไปศึกษาเล่าเรียน  อนุญาตให้ทำงานตามกฎหมาย

  24. การดำเนินการด้านสัญชาติตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติม การได้สัญชาติไทย  การกลับคืนสัญชาติไทย

  25. การได้สัญชาติไทย การขอถือสัญชาติไทยตามสามี การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย การกลับคืนสัญชาติไทย การขอกลับคืนสัญชาติไทย

  26. หลักการและความเป็นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในฐานะผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นผู้มีอำนาจใช้ดุลพินิจสั่งการเกี่ยวกับเรื่องสัญชาติ ดังนี้ 1.1 อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้หญิงต่างด้าวถือสัญชาติไทย ตามสามีผู้มีสัญชาติสัญชาติไทย 1.2 อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวแปลงสัญชาติ เป็นไทย

  27. 1.3 พิจารณาให้หญิงไทยหรือชายไทยซึ่งเดิมมีสัญชาติไทยและ ได้สละสัญชาติไทยกรณีได้สมรสกับคนต่างด้าวตามมาตรา 13 ให้กลับคืนสัญชาติไทย ตามมาตรา 23 1.4 อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ผู้ซึ่งมีสัญชาติไทยและได้เสีย สัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดาขณะที่ตนยังไม่บรรลุนิติภาวะ ตามมาตรา 14 ให้กลับคืนสัญชาติไทยตามมาตรา 24

  28. 2. ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  29. 2.1 พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2.2 กฎกระทรวง (พ.ศ. 2510)ออกตามความใน พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2508 2.3 กฎกระทรวงกำหนดแบบ วิธีการ และค่าธรรมเนียมในการยื่นคำขอ เกี่ยวกับการได้สัญชาติไทย การแปลงสัญชาติเป็นไทยสำหรับคนต่างด้าว ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย พ.ศ. 2545 2.4 ระเบียบปฏิบัติตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2510) ออกตามความใน พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ลงวันที่ 17 กันยายน 2511 2.5 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2543 เรื่อง แต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

  30. 2.6 คำสั่งคณะกรรมการกลั่นกรองเกี่ยวกับสัญชาติ ที่ 2/2552 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกลั่นกรองคำขอแปลง สัญชาติเป็นไทย การขอถือสัญชาติไทยตามสามี และการกลับคืนสัญชาติไทย 2.7 แนวทางประกอบการใช้ดุลพินิจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ตามมาตรา 9 มาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 2.8 คำสั่งคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขอแปลงสัญชาติเป็นไทย การขอถือ สัญชาติไทยตามสามี และการขอกลับคืนสัญชาติไทย ที่ 1/2552 ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2552 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานสัมภาษณ์ สังเกตพฤติการณ์ และทดสอบความรู้ภาษาไทย แก่ผู้ยื่นคำขอที่มีภูมิลำเนาในต่างจังหวัด

  31. 2.9 คำสั่งคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขอแปลงสัญชาติเป็นไทย การขอถือ สัญชาติไทยตามสามี และการขอกลับคืนสัญชาติไทย ที่ 1/2553 ลงวันที่ 12 มกราคม 2553 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานสัมภาษณ์และสังเกตพฤติการณ์ แก่ผู้ยื่นคำขอถือสัญชาติไทยตามสามีในต่างประเทศ 2.10 หนังสือ สนง.คกก.กฤษฎีกา ที่ นร 0601/644 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2543 เรื่องหารือข้อกฎหมายกรณีพระภิกษุไพรัตน์ เอส/โอดินชัย หรือ เอส โอดินชัย ซึ่งเป็นภิกษุต่างด้าว ขอแปลงสัญชาติเป็นไทย 2.11 หนังสือ สนง.คกก.กฤษฎีกา ที่ นร 0901/0398 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2548 เรื่องหารือปัญหาในทางปฏิบัติตามแนวทางประกอบการขอถือสัญชาติไทย ตามสามีและขอแปลงสัญชาติเป็นไทย

  32. 2.12 หนังสือ ปค. ที่ มท 0309.1/2863 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2545 เรื่องส่งกฎกระทรวง กำหนดแบบ วิธีการ และค่าธรรมเนียม ในการยื่นคำขอเกี่ยวกับการได้สัญชาติไทย การแปลงสัญชาติ เป็นไทย และการกลับคืนสัญชาติไทย สำหรับคนต่างด้าว ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย พ.ศ.2545 และการปฏิบัติงานเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535

  33. 3. ขั้นตอนวิธีการดำเนินการ สำหรับคนต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย

  34. การขอถือสัญชาติไทยตามสามีผู้มีสัญชาติไทย ของคนต่างด้าว ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ตามมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2508 1.1 นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำอำเภอ (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด)  1.2 สัมภาษณ์จากคณะทำงานสัมภาษณ์ สังเกตพฤติการณ์ และทดสอบความรู้ภาษาไทย ระดับจังหวัด ผู้ยื่นคำขอฯ  ผู้อำนวยการสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพ) 1.3 1.3/1 คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง การขอแปลงสัญชาติเป็นไทยฯ

  35. คณะกรรมการกลั่นกรองเกี่ยวกับสัญชาติคณะกรรมการกลั่นกรองเกี่ยวกับสัญชาติ ตามมาตรา 25   กรณีอนุญาต กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) กรณีไม่อนุญาต กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน)  เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณา  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ประกาศในราชกกิจจานุเบกษา (มาตรา 5) สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง แจ้งผู้ยื่นคำขอฯ ทราบ กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน)  7.2 7.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด / ปลัดกรุงเทพมหานคร(ที่ผู้ได้สัญชาติไทย มีภูมิลำเนาแล้วแต่กรณี) สำนักบริหารการทะเบียน - แจ้งผู้ได้สัญชาติไทยทราบการได้ สัญชาติไทย และให้ไปดำเนินการ ตามสิทธิหน้าที่ของผู้ได้สัญชาติไทย - แจ้งผู้ได้สัญชาติไทยมาดำเนินการ ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535

  36. การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ของคนต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยตามมาตรา 10แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2508 นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ(กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด) 1.1/1 สัมภาษณ์จากคณะทำงานสัมภาษณ์ สังเกตพฤติการณ์ และทดสอบความรู้ภาษาไทย ระดับจังหวัด 1.1  ผู้ยื่นคำขอฯ  ผู้อำนวยการสำนักบริหาร การทะเบียน กรมการปกครอง (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ) คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขอแปลงสัญชาติเป็นไทยฯ 1.2  คณะกรรมการกลั่นกรองเกี่ยวกับสัญชาติ ตามมาตรา 25  กรณีเห็นสมควรอนุญาต กระทรวงมหาดไทย กรณีไม่อนุญาต กระทรวงมหาดไทย  เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณา ใช้ดุลพินิจสั่งการ สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง  สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งผู้ยื่นคำขอฯ ทราบ  กระทรวงมหาดไทย

  37. 9. 10. สำนักงานราชเลขาธิการนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) 11. 12. สำนักบริหารการทะเบียน แจ้งผู้ได้รับพระบรมราชานุญาต มาทำพิธีปฏิญาณตนว่าจะมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อประเทศไทย (มาตรา 12) และจัดทำประกาศกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) 13. 14. กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ลงนามในประกาศกระทรวงมหาดไทย 16. 15. เลขาธิการคณะรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) 16.2 16.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด/ปลัดกรุงเทพมหานคร (ที่ผู้ขอแปลงสัญชาติไทยมีภูมิลำเนาแล้วแต่กรณี) สำนักบริหารการทะเบียน - แจ้งผู้ได้สัญชาติไทย ทราบ และสามารถขอรับหนังสือสำคัญ การแปลงสัญชาติเป็นไทยได้ - แจ้งให้ผู้ได้สัญชาติไทยมาดำเนินการตามระเบียบ สำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535

  38. การขอกลับคืนสัญชาติไทยของคนต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ตามมาตรา 24 แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2508 พนักงานทูตหรือกงสุลในต่างประเทศ (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ต่างประเทศ) 1.1 กรมการปกครอง  ผู้ยื่นคำขอฯ (ยื่นภายใน 2 ปี นับตั้งแต่ บรรลุนิติภาวะตามกฎหมายไทย) ผู้อำนวยการสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ) 1.2 1.3 นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด)  สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง

  39.  คณะกรรมการกลั่นกรอง เกี่ยวกับสัญชาติ ตามมาตรา 25 คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง การขอแปลงสัญชาติเป็นไทยฯ เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณา กรณีไม่อนุญาต (ม.24) กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) กรณีอนุญาต (ม.24) และ ลงนามในประกาศ มท. กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) . สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง  . เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 5) กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) แจ้งผู้ยื่นคำขอฯทราบ 7.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด / ปลัดกรุงเทพมหานคร (ที่ผู้ขอกลับคืนสัญชาติไทยมีภูมิลำเนาแล้วแต่กรณี) 7.2 สำนักบริหารการทะเบียน - แจ้งผู้ขอกลับคืนสัญชาติไทยทราบ การได้สัญชาติไทยและไปดำเนินการ สิทธิ หน้าที่ของผู้มีสัญชาติไทย - แจ้งให้ผู้ขอกลับคืนสัญชาติไทยมาดำเนินการ ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการ จัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535

  40. ขอได้รับความขอบคุณ สวัสดี จาก กรมการปกครอง สำนักกิจการความมั่นคงภายใน ส่วนประสานราชการ โทร 0-2223-6740 3 มีนาคม 2553

More Related