1 / 96

ระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ. ธรรมชาติในรูปนี้ เป็นระบบนิเวศหรือไม่ เพราะเหตุใด. - มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง -สิ่งไม่มีชีวิตมีอะไรบ้าง -ระหว่างสิ่งมีชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างไร -ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับไม่มีชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างไร. ปัญหาน่าคิด.

jerry-nunez
Télécharger la présentation

ระบบนิเวศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบนิเวศ

  2. ธรรมชาติในรูปนี้ เป็นระบบนิเวศหรือไม่ เพราะเหตุใด - มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง -สิ่งไม่มีชีวิตมีอะไรบ้าง -ระหว่างสิ่งมีชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างไร -ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับไม่มีชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

  3. ปัญหาน่าคิด เพราะเหตุใดบางแห่งจึงพบเห็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันทั้งพืชและสัตว์ • บางแห่งพบว่า มีกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเฉพาะเท่านั้นที่อาศัยอยู่และจะไม่พบในบริเวณอื่น ๆ

  4. ต้นชมพูภูคา

  5. นักเรียนคิดว่า ปัจจัยอะไรบ้างเป็นตัวกำหนดหรือ ควบคุมการกระจายของสิ่งมีชีวิต

  6. คำตอบคือ... สภาพแวดล้อม ได้แก่ อุณหภูมิ ปริมาณน้ำ ความชื้น ฯลฯ ซึ่งถูกกำหนดด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์

  7. การจัดระบบของการอาศัยอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศการจัดระบบของการอาศัยอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิต ไบโอสเฟียร์ ระบบนิเวศทุกระบบที่รวมกันอยู่บนโลก ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมและระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเองที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ระบบนิเวศ กลุ่มสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตมากกว่าหนึ่งชนิดซึ่งอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่เดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน ประชากร จะดำรงชีวิตอยู่ได้ก็มีองค์ประกอบของร่างกายทำงานอย่างมีระบบ

  8. ไบโอม (biomes) ระบบนิเวศใดก็ตามที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น และปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืช และสัตว์ที่คล้ายคลึงกันกระจายกันอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ ต่าง ๆ

  9. ไบโอมในน้ำ

  10. ไบโอมบนบก (terrestrialbiomes) ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและ อุณหภูมิเป็นตัวกำหนด • ป่าดิบชื้น • ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น • ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น • สะวันนา • ป่าสน • ทะเลทราย • ทุนดรา

  11. ไบโอมบนบก ตัวกำหนด • ใช้ปริมาณน้ำฝน • อุณหภูมิ

  12. ป่าดิบชื้น(tropical rain forest) ลักษณะภูมิอากาศ ร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี ๒๐๐ - ๔๐๐ เซนติเมตรต่อปี ปริมาน้ำฝนเฉลี่ย Amazon rainforest

  13. ป่าดิบชื้น(tropical rain forest) บริเวณที่พบ ใกล้เขตศูนย์สูตร ทวีปอเมริกากลาง ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปเอเชียตอนใต้ บางส่วนของหมู่เกาะแปซิฟิก

  14. ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น(temperate deciduous forest) ๑๐๐ เซนติเมตรต่อปี ปริมาน้ำฝนเฉลี่ย อากาศค่อนข้างเย็น มีความชื้นเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ใหญ่ ผลัดใบก่อนฤดูหนาว ผลิใบหลังฤดูหนาว

  15. ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น บริเวณที่พบ กระจายทั่วไปในละติจูดกลาง

  16. ไบโอมป่าสน Taiga (Coniferous Forest)

  17. Boreal Forest

  18. ป่าสน(coniferous forest) ป่าไทกา(taiga) ป่าบอเรียล(boreal) • เป็นป่าประเภทเดียวกัน • ต้นไม้เขียวชะอุ่มตลอดปี ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง

  19. ไบโอมป่าสน บริเวณที่พบ ตอนใต้ของแคนาดา ตอนเหนือของอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป

  20. ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น(temperate grassland) ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย ๒๕ -๕๐ เซนติเมตรต่อปี

  21. ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น(temperate grassland) ตอนกลางทวีปอเมริกาเหนือ บริเวณที่พบ ประเทศรัสเซีย

  22. ทุ่งหญ้าแพรี่(prairie) ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ในตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือ

  23. ทุ่งหญ้าสเตปส์(steppes) ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ในประเทศรัสเซีย

  24. สะวันนา(savanna) ลักษณะภูมิอากาศ ร้อน เป็นทุ่งหญ้า ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย ทวีปเอเชีย(ตะวันออกเฉียงใต้) Savanna grassland in Africa

  25. สะวันนา(savanna) บริเวณที่พบ ทวีปแอฟริกา ตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย

  26. ทุ่งหญ้าสะวันนา ณ อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง

  27. ไบโอมทะเลทราย(Desert biomes) ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย ๒๕ เซนติเมตรต่อปี อุณหภูมิสูง บางแห่งอากาศเย็น พืชส่วนใหญ่มีการป้องกันการสูญเสียน้ำ ลำต้นอวบเก็บสะสมน้ำ ใบลดรูปเป็หนาม

  28. ไบโอมทะเลทราย(Desert biomes) พบได้ทั่วไปในโลก

  29. ทะเลทรายซาฮาร่า(Sahara) อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา

  30. ทะเลทรายโกบี(Gobi desert) อยู่ระหว่างมองโกเลียกับประเทศจีน

  31. ทะเลทรายโมฮาวี(Mojave) รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอมเริกา

  32. ไบโอมทุนดรา(tundra biome) ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูหนาวยาวนาน ฤดูร้อนสั้น ฝนตกน้อย(ตกฤดูร้อน) ลักษณะเด่น ชั้นดินใต้ผิวดินเป็นน้ำแข็ง Arctic Tundra

  33. ทุนดรา(tundra) บริเวณที่พบ ตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ยูเรเซีย

  34. ไบโอมในน้ำ(Aquatic biomes) • ไบโอมแหล่งน้ำจืด ( freshwater biomes ) • ไบโอมแหล่งน้ำเค็ม ( marine biomes )

  35. ไบโอมแหล่งน้ำจืด(freshwater biomes) ประกอบด้วย แหล่งน้ำไหล แหล่งน้ำนิ่ง ทะเลสาบ , สระ , หนอง , บึง ธารน้ำไหล , แม่น้ำ ทะเลสาบล็อกเนสส์

  36. ภาพเนสซีที่ นพ.เคนเนท วิลสัน ถ่ายได้ที่ทะเลสาบล็อกเนสส์ประเทศสก๊อตแลนด์

  37. ไบโอมน้ำจืด

  38. ไบโอมแหล่งน้ำเค็ม ได้แก่ ทะเล , มหาสมุทร

  39. สรุป.... ไบโอมบนบกและไบโอมในน้ำ จัดได้ว่าเป็นแหล่งรวม ของระบบนิเวศทั้งบนบกและในน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ในโลก

  40. ทำกิจกรรมที่ 1.1 ระบบนิเวศในท้องถิ่น • สำรวจระบบนิเวศแหล่งน้ำ • ศึกษาสมบัติทางกายภาพบางประการ • สำรวจสภาพแวดล้อมโดยทั่วไป • สังเกต สี กลิ่น สิ่งปนเปื้อนในน้ำ • วัดการส่องผ่านของแสงลงสู่แหล่งน้ำ • วัดอุณหภูมิของน้ำในแหล่งน้ำ • วัดความเป็นกรด-เบสของแหล่งน้ำ • ศึกษาสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ • สังเกตสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ำ • เก็บตัวอย่างพืชที่ลอยน้ำ • ใช้ถุงลากแพลงก์ตอน • การสำรวจระบบนิเวศบนบก • ศึกษาสภาพทางกายภาพบางประการ • สำรวจสภาพแวดล้อมโดยทั่วไป • สังเกตลักษณะของดิน • วัดอุณหภูมิของดิน • วัดความเป็นกรด-เบสในดิน • ศึกษาสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศบนบก • สังเกตชนิด จำนวน ลักษณะ และ การกระจายของสิ่งมีชีวิต • ศึกษาสิ่งมีชีวิตในดิน • สำรวจชนิด จำนวน ลักษณะของสิ่งมีชีวิต • หาความหนาแน่น วัดความหนาแน่นของเรือนยอดต้นไม้

  41. ระบบนิเวศ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศในน้ำ

  42. ระบบนิเวศในน้ำ แบ่งตามลักษณะของแหล่งน้ำ ๑. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด ๒. ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม ๓. ระบบนิเวศแหล่งน้ำกร่อย

  43. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำนิ่ง แบ่งเป็น แหล่งน้ำไหล

  44. บริเวณต่าง ๆ ของแหล่งน้ำนิ่ง (limnetic zone) (littoral zone) (profundal zone)

  45. แหล่งน้ำนิ่ง แบ่ง เป็น ๓ บริเวณ(zone) บริเวณชายชั่ง หรือ น้ำตื้น บริเวณผิวน้ำ หรือ หน้าน้ำห่างฝั่ง บริเวณน้ำชั้นล่าง หรือ น้ำลึก บึงบรเพ็ด

  46. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำไหล บริเวณที่เป็นแอ่งน้ำ(pool zone) บริเวณที่เป็นเกาะแก่ง หรือ บริเวณน้ำไหลเชี่ยว(rapid zone) แก่งตะนะ ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

More Related