1 / 30

บทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตร เติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทย

บทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตร เติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทย. ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ รามสูต ประธานกรรมการบริหาร โรงพยาบาลนวมินทร์ และกลุ่มโรงพยาบาลในเครือนวมินทร์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค อดีตอธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2.

jerry
Télécharger la présentation

บทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตร เติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตรเติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทยบทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตรเติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทย ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ รามสูต ประธานกรรมการบริหาร โรงพยาบาลนวมินทร์ และกลุ่มโรงพยาบาลในเครือนวมินทร์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค อดีตอธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  2. 2 สรุปประวัติและความพร้อมของ ร.พ.นวมินทร์ก่อนเข้าร่วมโครงการควบคุมวัณโรค ปี 2538 จัดตั้งเปิดเป็น รพ.เอกชนขนาด 180 เตียง ที่เขตเทศบาลเมืองมีนบุรี และเข้าร่วมโครงการประกันสังคม • จัดตั้งฝ่ายประกันสังคมและบุกเบิกพัฒนาเป็น รพ.เอกชนผู้นำในโครงการประกันสังคมที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO HA ระดับสอง และ HPH. • เป็นที่ศึกษาดูงานโครงการประกันสังคมจาก รพ.ภาครัฐ และ รพ.เอกชน และคณะพยาบาลศาสตร์ ม.ขอนแก่น ฯลฯ • ปัจจุบันมีผู้ประกันตนรวม 113,711 คน ใน กทม. และมีเครือข่ายคลินิกแพทย์เอกชนร่วมโครงการฯ เกือบ 200 แห่ง

  3. 3 ปี 2545 ได้เข้าร่วมโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สปสช. • จัดตั้งฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชุม บุกเบิกพัฒนาเป็น รพ.เอกชนผู้นำงานประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามมาตรฐาน สปสช. • จัดตั้ง PCU ใน รพ.นวมินทร์ 1 คลินิก และ PCU 13 คลินิกกระจายในพื้นที่ประชากรผู้ประกันตนใน 6 เขตของ กทม. ภาคตะวันออก คือ มีนบุรี บางกะปิ คลองสามวา คันนายาว บึงกุ่ม สะพานสูง เพื่อดูแลผู้ประกันตนรวม 199,324 คน • ได้รับรางวัล รพ.เอกชนส่งเสริมสุขภาพดีเด่น จาก กรมอนามัย ในปี 2553

  4. 4

  5. 5 แผนที่แสดง PCU 14 คลินิก ใน 9 เขตของ กทม.

  6. 6

  7. 6 เหตุผลและความพร้อมการเข้าร่วมเป็นพันธมิตร โครงการควบคุมวัณโรค กองทุนโลกในปี 2553 • ความพร้อม / ประสบการณ์การเป็น รพ.เอกชนผู้นำในโครงการประกันสังคม / โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ดังกล่าวแล้ว • มีระบบงาน รพ.ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สำนักงานประกันสังคม , สปสช. , ISO , HA , HPH และ รพ.นวมินทร์ 9 เป็นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล HA , HPH และ JCI • มีระบบงานที่พร้อมและประสบการณ์สูงในการบริการผู้ประกันตน 199,324 คนในพื้นที่ กทม.ภาคตะวันออก 6 เขต ในโครงการประกันสุภาพถ้วนหน้า - ฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชนที่บริการเชื่อมโยงบูรณาการ - ทีมสหวิชาชีพและสาธารณสุขในเครือข่ายบริการ - รพ.นวมินทร์ - คลินิก PCU ใน รพ.นวมินทร์ 1 คลินิก - คลินิก PCU กระจายใน ชุมชน 13 คลินิกในพื้นที่ 6 เขต กทม. มีนบุรี บางกะปิ บึงกุ่ม คันนายาว คลองสามวา สะพานสูง • ประสบการณ์ส่งเสริมสุขภาพได้รับรางวัล รพ.เอกชน ส่งเสริมสุขภาพดีเด่น กรมอนามัยปี 2553 เพื่อบริการสุขภาพอย่างบูรณาการ ครบองค์รวมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน Hospital - Based Care Family – Based Care Community - Based Care

  8. 8 ประสบปัญหามีแนวโน้มพบผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มมากขึ้น ปี 2552ปี 2553ปี 2554 194 คน 264 คน 298 คน 5. 6. 7. ตรวจพบผู้ป่วย MPR TB 7 ราย การส่งต่อ รพ.เครือข่ายวัณโรคดื้อยา ต้นทุนรักษา 1 ราย 12 -18 เดือน 2 แสนบาท ต้นทุนการส่งต่อรักษา 1 ราย 18 -24 เดือน 1 ล้านบาท พบบุคลากร รพ.นวมินทร์ติด TB 2 ราย

  9. 9

  10. 10 จุดแข็ง (Strength) ที่สนับสนุนการเข้าร่วมโครงการควบคุมวัณโรค • รพ.นวมินทร์ มีคณะกรรมการผสมผสานงาน TB/HIV • มีแนวทางมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วย TB และส่งต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาที่เป็นมาตรฐานชัดเจนของ WHO และสำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค • มีเครือข่ายห้องปฏิบัติการวัณโรคที่ดี • มีเครือข่ายหน่วยงานเกี่ยวข้อง/พันธมิตรในการควบคุมวัณโรคที่ดี • สามารถประสานงานควบคุมวัณโรคใน รพ. , คลินิก PCU 14 แห่งในพื้นที่ 6 อำเภอและชุมชนได้ดี • มีระบบดูแลรักษา TB , HIV ในชุมชน ผสมผสานงานคลินิกวัณโรค และคลินิกเอดส์ได้ดี • มีการประสานงานการควบคุมโรคติดเชื้อใน รพ. กับองค์กรวิชาชีพเกี่ยวข้องตามมาตรฐาน HA • มีทีมบุคลากรสหวิชาชีพ และทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เข้มแข็งทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ และบูรณาการทำงานเกื้อหนุนกันระหว่างเครือข่ายฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน คลินิกวัณโรค คลินิก HIV/AIDS และคลินิก PCU ทั้ง 14 แห่งใน รพ. และเขตต่างๆ

  11. 11

  12. 12

  13. 13 โอกาส (Opportunity) ที่ดีในการเข้าร่วมโครงการควบคุมวัณโรค • กระแสสาธารณะตระหนักว่าวัณโรคกำลังเป็นปัญหาสาธารณสุข • มีนโยบายสนับสนุนชัดเจนทั้งด้านการเร่งรัดดำเนินงานควบคุมวัณโรค และการผสมผสานงาน TB/ HIV เพื่อลดความรุนแรงของโรค • มีเครือข่ายองค์กรที่ให้การสนับสนุนที่เข้มแข็งทั้งระดับในประเทศ และนาชาติเป็นพันธมิตรที่ดี • มีการสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการ • มีแกนนำหลักให้การสนับสนุนและพี่งพาได้ • สำนักอนามัยพัฒนาโปรแกรม TBCM ที่ดี • สปสช. พัฒนาโปรแกรม SMART – TB ที่ดี

  14. 14 กลยุทธที่ใช้ในการควบคุมวัณโรค ดำเนินตามกลยุทธมาตรฐานของแผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) / WHO และแนวทางมาตรฐานการดำเนินงานควบคุมวัณโรค (Training Module) กลยุทธที่ 1: ส่งเสริมการดำเนินงาน DOTS อย่างมีคุณภาพ (Pursue Quality DOTS Expansion And Enhancement ) โดย คลินิก TB/PCU/จนท.สช./พี่เลี้ยงและญาติ/เภสัชกรนับเม็ดยา ฯลฯ กลยุทธที่ 2: เร่งรัดติดตามงานผสมผสานงานวัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยา และปัญหาท้าทายอื่นๆ (Address TB/HIV , MDR-TB And Other Challenges) โดย คลินิก TB, คลินิก HIV, ระบบส่งต่อและรักษาผู้ป่วยดื้อยา ฯลฯ

  15. 15 กลยุทธที่ 3: การสร้างเสริมความเข้มแข็งระบบสาธารณสุข เพื่อการควบคุมวัณโรค โดยยึดหลักการสาธารณสุขมูลฐาน (Contribute to health System Strengthening Based on-Primary Health Care) โดย - การแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมวัณโรคระดับ รพ./ PCU. - จนท.สธ. พี่เลี้ยงผู้ประสานงานวัณโรค (Mr.TB) /ทีมสหวิชาชีพ /ทีมสาธารณสุข ฯลฯ - การพัฒนาระบบข้อมูล Smart TB,TBCM. - แยก TB Clinic และห้องตรวจไม่ปะปนผู้ช่วยอื่น - มีระบบ IC ห้องแยก Admit ผู้ป่วย TB พร้อมระบบ Fast Tract - มีตู้เก็บเสมหะแยกเฉพาะ - มีการจัดทำ CPG ในคลินิกวัณโรคและ CPU ตามมาตรฐาน - มี จนท.สธ. PCU ร่วมงานกับแกนนำ/ผู้นำชุมชน/อสส./ผู้ป่วย/ญาติ/Home Carer ฯลฯ

  16. 16 ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาการประสานการมีส่วนร่วมหน่วยงาน / องค์กรภาครัฐ และ ภาคเอกชนพันธมิตร ที่เกี่ยวข้องกับการบริการบริการสุขภาพ (Engage All Care Providers / Public-PublicAnd Public- private mix: PPM) เช่น สปสช., สำนักวัณโรค , สำนักอนามัย , ศูนย์บริการ สธ. , กลุ่ม NCD , World Vision, Principal RecipientAdministrative Office , PR-DDC, raks thai ,ARC , Thailand Business Coalition- Aids ฯลฯ

  17. 17

  18. 18 ยุทธศาสตร์ที่ 5: พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ และการมีส่วนร่วมของสังคมและ ชุมชนเชิงพันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการบริการบริการสุขภาพ ( Empower peoplewith TB and Communities Through partnership /Advocacy Communication and Social Mobilization: ACSM ) โดย ทีมสาธารณสุขของฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน และ PCU 14 แห่ง ร่วมกับตัวแทน ภาคประชาชน , ผู้นำชุมชน , แกนนำชุมชน ชุมชนสาธิตเขตโซนศรีนครินทร์

  19. 19 การจัดระบบเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับโครงการควบคุมวัณโรค ของ รพ.นวมินทร์ 1. สร้างระบบเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับโครงการควบคุมวัณโรค ของ รพ.นวมินทร์ จัดตั้ง TB Clinic หรือ HIV Clinic ใน รพ. ตามมาตรฐาน กรมควบคุมโรค และWHO บูรณาการงานควบคุมวัณโรค ใน TB Clinic และ PCU ใน รพ. และ PCU 13 แห่งในพื้นที่ 9 เขตที่รับผิดชอบ ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยกำหนดบุคลากรสหวิชาชีพ รับผิดชอบทุกระดับ จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมวัณโรคทั้งในระดับ รพ. และระดับ PCU ทุกแห่ง จัดตั้งศูนย์ประสานงานคลิกนิกเครือข่าย PCU ร่วมงานกับฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชนของ รพ. จัดตั้งและพัฒนาผู้นำและแกนนำชุมชน และ อสส. ในพื้นที่ทั้ง 9เขต เพื่อประสานงาน

  20. 20 2. พัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านอย่างบูรณาการ ครบองค์รวมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน สำนักวัณโรค / WHO / สปสช. บริการแบบบูรณาการ / เชื่อมโยงระหว่าง Hospital- Based Care/Family-Based Care /Community- Based Care กำหนดเจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบเป็นพี่เลี้ยงดูแลผู้ป่วยวัณโรค (Mr.TB) ทุก PCU ในการติดตามเยี่ยม บ้านและกำกับการกินยา ร่วมกับ Home Carer จัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วย TB ที่ได้รับการแจ้งชื่อ/ที่อยู่/ประวัติการรักษาและจำหน่ายเพื่อส่งต่อให้เครือข่าย PCU เป็นพี่เลี้ยงดูแลต่อ จัดประชุมปฐมนิเทศชี้แจงการดำเนินงานเจ้าหน้าที่ PCU ทุกแห่งเพื่อดำเนินตามมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน จัดอบรมพัฒนาองค์ความรู้และทักษะการรักษาและควบคุมวัณโรคแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องทุกระดับ การดูแลนิเทศงานและติดตามผลงาน โดย ศูนย์ประสานงานคลินิกเครือข่าย PCU / ฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน / คณะกรรมการควบคุมวัณโรค รพ.และ PCU

  21. 21 3. กำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและบุคลากรเกี่ยวข้องทุกระดับตามมาตรฐาน สำนักวัณโรค/WHO/สปสช. ทีมสหวิชาชีพ รพ.นวมินทร์ /คลินิก TB/ ฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน/ ศูนย์ประสานงานคลินิกเครือข่าย PCU / คณะกรรมการควบคุมวัณโรค เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของ PCU ผู้เป็นพี่เลี้ยงดูแลติดตามประสานสนับสนุนในทุก 14 คลินิก PCU อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) ญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ( Home Carer) แกนนำชุมชน / ผู้นำชุมชน

  22. 22 แนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาวัณโรคและผู้ติดเชื้อ HIV / AIDS ติดตามคุณภาพ การให้บริการ บริหารงบประมาณ ด้านการพัฒนา สนับสนุน ด้านวิชาการ • สปสช. • SSF • ศูนย์บริการสาธารรสุข 43 แม่ข่าย • สปสช. • SSF ระดับ จังหวัด • สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร • สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค • รพ.ผู้ให้บริการดูแล • รักษาวัณโรค • HIV/AIDS • ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 • แม่ข่าย • ทีมพี่เลี้ยง ระดับ เขต • สปสช. เขต 13 • SSF • ศูนย์บริการสาธารรสุข 43 แม่ข่าย • ทีมพี่เลี้ยง ระดับ หน่วยงาน • โรงพยาบาลนวมินทร์ • ศูนย์ประสานงานคลินิกเครือข่าย PCU • คลินิก PCU 14 แห่ง • สปสช. เขต 13 • SSF • โรงพยาบาลนวมินทร์

  23. 23 สรุปปัจจัยที่ช่วยให้งานควบคุมวัณโรคของ รพ.นวมินทร์ สำเร็จในระดับได้ผลดี( Key Successful Factors ) 1. การวางแผนดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคแบบบูรณาการ ครบองค์รวม และต่อเนื่องโดยอาศัยกลไกระบบ DOTS และการประสานกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ของทีมสาธารณสุขของ PCU ทั้ง 14 แห่งที่ใกล้บ้าน การร่วมประสานกับผู้ป่วย ครอบครัว อสส. แกนนำชุมชน ช่วยเสริมพลัง การดูแลตนเอง การรักษาให้หายขาด การป้องกันการเผยแพร่เชื้อ การลดความเสี่ยงของ Relapse การลด Revisit และ Readmit

  24. 24 2. • แพทย์ รพ.นวมินทร์ คลินิกวัณโรค ร่วมกับแพทย์คลินิก PCU 14 แห่งร่วมกัน • วางแผนการรักษา • วางแผนการจำหน่าย • การติดตามดูแลต่อเนื่องที่บ้านและชุมชนโดยทีม สธ. • งานป้องกันควบคุมโรคในชุมชนโดยทีม สธ. ของ • ศูนย์เวชศาสตร์ชุมชน PCU 14 แห่ง บูรณาการระหว่าง Hospital- Based Care Family- Based Care Community- Based Care การรักษาที่บูรณาการ / ครบองค์รวม / ต่อเนื่องตามมาตรฐาน

  25. 25 3. การประสานความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ผู้ป่วย + ญาติ + อสส. + แกนนำชุมชน + ทีมสาธารณสุขของ PCU 14 แห่ง + ทีมสาธารณสุขฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน ผู้ป่วยและผู้ป่วย MDR กินยาครบถ้วนถูกต้องสม่ำเสมอตามระบบ DOTS • การติดตามการเยี่ยมบ้าน • การกำกับการกินยา • การเพิ่มศักยภาพการดูแลตนเอง ผู้ป่วย / ญาติ

  26. 26 การมุ่งเน้นสร้างความตระหนัก และความสำคัญของการดูแลช่วยเหลือตนเอง ( Self Care / Self Help ) ของผู้ป่วยและญาติ 4. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมสาธารณสุขของ PCU 14 แห่ง กับผู้ป่วย / ญาติ / อสส. / แกนนำชุมชน การดูแลรักษาผู้ป่วยแบบบูรณาการครบองค์รวมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน

  27. 27 5. การได้รับการประสานสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายพันธมิตร เช่น - สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค - สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร - สปสช. - ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. - GOS / NGOS ที่เกี่ยวข้องต่างๆ 6. ปัจจัยเกื้อหนุนอื่นๆ - แผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ( NTP ) - คู่มืออบรมแนวทางมาตรฐานการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับคลินิกวัณโรค (Training Module) สำนักวัณโรค - Mutual Trust / Mutual Respect และ Mutual Benefit ระหว่างภาคีเครือข่ายเกี่ยวข้อง - ทีมประเมินผลงานควบคุมวัณโรคของ WHO และนพ.ยุทธชัย เกษตรเจริญ ที่ปรึกษาวัณโรคและผู้ประสานงาน

  28. 28 การผสมผสานงานเอดส์ และวัณโรคของ รพ.นวมินทร์( คลินิกเอดส์ / คลินิกวัณโรค / OPD / PCU 14 ) หน่วยงานตรวจพบผู้ติดเชื้อ HIV รายใหม่ และให้ Counseling หน่วยงานตรวจพบผู้ป่วย TB รายใหม่ หน่วยงานให้ Counseling เพื่อตรวจ HIV หน่วยงานให้ความรู้เรื่อง TB และ ตรวจคัดกรอง TB ส่งต่อรับยา ที่คลินิก HIV HIV + HIV + ตรวจพบป่วยเป็น TB ส่งต่อคลินิกวัณโรค รักษาต่อที่คลินิกวัณโรค รับยา TB จนครบถ้วน

  29. 29 สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อจำกัดที่เป็นบทเรียนต่อการแก้ไขการควบคุมวัณโรค 1. ทีมงานรักษาผู้ป่วยยังขาดการประเมินปัญหาและผลกระทบที่แท้จริงของผู้ป่วยสภาพปัญหา และความเป็นอยู่ เพื่อนำไปใช้ประกอบ การติดตามการรักษา และแก้ไขปัญหาที่บ้านให้บูรณาการ ครบองค์รวม และต่อเนื่องตามมาตรฐานให้สอดคล้องกับบริบทของผู้ป่วยแต่ละราย 2. ขั้นตอนการรักษาที่ค่อนข้าง ยุ่งยาก ซับซ้อน ใช้เวลานาน ต้องการการติดตามเยี่ยม บ้านของทีมสาธารณสุข ของ PCU ใกล้บ้าน ผลเสีย ผู้ป่วยท้อแท้ เบื่อหน่าย ไม่อยากไปรักษา และกินยาอย่างต่อเนื่องครบถ้วนตามมาตรฐาน ต้องการการติดตามเยี่ยม บ้านของแกนนำชุมชนและ อสส. ของ ชุมชน ร่วมกับ Home-Carer ผลสำเร็จการรักษาตามมาตรฐาน

  30. 30 3. เทคนิคและศิลปการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ต้องใช้เวลาและประสบการณ์ เพื่อบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน การติดตามเยี่ยมบ้านของทีมสาธารณสุขของ PCU และฝ่ายเวชศาสตร์สังคม ที่อบอุ่น เอาใจใส่ จริงใจ เมตตาการุณย์ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ต่อผู้ป่วย ญาติ อสส. แกนนำชุมชน

More Related