1 / 61

Ext. ปริญดา ต.วรพานิช Ext. รภัส สมะลาภา Ext. วัลยา หอมสุวรรณ์

Stroke in Soidao. Ext. ปริญดา ต.วรพานิช Ext. รภัส สมะลาภา Ext. วัลยา หอมสุวรรณ์. หลักการและเหตุผล. หลักการและเหตุผล. Every two seconds, someone in the world suffers a stroke Every six seconds, someone dies of a stroke Every six seconds,

Télécharger la présentation

Ext. ปริญดา ต.วรพานิช Ext. รภัส สมะลาภา Ext. วัลยา หอมสุวรรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Stroke in Soidao Ext.ปริญดา ต.วรพานิชExt.รภัส สมะลาภาExt.วัลยา หอมสุวรรณ์

  2. หลักการและเหตุผล

  3. หลักการและเหตุผล Every two seconds, someone in the world suffers a strokeEvery six seconds, someone dies of a strokeEvery six seconds, someone’s quality of life will forever be changed – they will permanently be physically disabled due to stroke

  4. หลักการและเหตุผล โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคไม่ติดต่อที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นสาเหตุการตายและพิการอันดับต้นๆของประเทศไทย โดยรายงานการศึกษาโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2551 พบว่าอัตราผู้ป่วยในโรคหลอดเลือดสมอง 257/100,000 มีผู้ป่วยนอก 980/100,000 คน ค่ารักษาเฉลี่ย 1,629 บาทต่อราย ผู้ป่วยใน 257/100,000 คน(446/วัน) ค่ารักษาเฉลี่ย 29,571 บาทต่อราย ค่ารักษาทั้งสิ้น 2,973 ล้านบาทต่อปี หากประมาณการผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 0.5 ล้านคนจะต้องเสียค่ารักษาประมาณ 20,632 ล้านบาทต่อปี และในปี พ.ศ. 2552 โรคหลอดเลือดสมองมีอัตราเสียชีวิต21/100,000

  5. ตารางแสดงโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญของของการสูญเสียDisability Adjusted Life Years (DALYs)ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2542 (เพศชาย) โรค DALYs ร้อยละ 1. เอดส์ 960,086 17 2. อุบัติเหตุจราจร 510,909 9 3. หลอดเลือดสมอง 271,009 5 4. มะเร็งตับ 248,083 4 5. เบาหวาน 168,594 3 6. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 159,188 3 7. ถุงลมปอดโป่งพอง 156,861 3 8. ถูกฆาตกรรม/ถูกทำร้าย 156,853 3 9. ฆ่าตัวตาย/ทำร้ายตัวเอง 147,988 3 10. ยาเสพติด 137,703 2 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)

  6. ตารางแสดงโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญของของการสูญเสีย DALYs ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2542 (เพศหญิง) โรค DALYs ร้อยละ 1. เอดส์ 372,956 10 2. หลอดเลือดสมอง 282,509 7 3.. เบาหวาน 267,155 7 4. โรคซึมเศร้า 145ม336 4 5. มะเร็งตับ 118,384 3 6. ข้อเข่าเสื่อม 117,994 3 7. โลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก) 112,990 3 8. อุบัติเหตุจราจร 108,449 3 9. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 102,863 3 10. ต้อกระจก 96,091 2 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)

  7. Diseases Deaths % 1. HIVAIDS 40,064 18 2.Traffic accidents 21,901 10 3. Stroke 18,286 8 4. Liver cancer 13,774 6 5. COPD 10,977 5 6. Ischemic heart disease 9,734 4 7. Homicide/Violence 6,786 3 8. Suicides 6,671 3 9. Lung cancer 6,461 3 10. Diabetes 6,223 3 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm) The top killers in Thailand 1999 (Male)

  8. Top 10 killers in Thailand 1999 (Female) Diseases Deaths % 1. Stroke 23,433 14 2.HIVIAIDS 16,443 10 3. Diabetes 12,235 7 4. Ischemic heart disease 8,089 5 5. Liver cancer 7,938 3 6. Lower respiratory tract infection 5,521 3 7. Traffic accident 5,330 3 8. COPD 5,132 3 9. Tuberculosis 4,413 3 10. Nephritis & Nephrosis 4,123 2 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)

  9. หลักการและเหตุผล จากการเรียนในชั้นคลินิกและการปฏิบัติงานในรายวิชาเวชปฏิบัติที่โรงพยาบาลสอยดาว จังหวัดจันทบุรี พบว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมองจำนวนมากทั้งผู้ป่วยรายใหม่และผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว ทางคณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้รวบรวมและจัดทำข้อมูลโรคหลอดเลือดสมองในแง่ต่างๆ เพื่อนำไปเป็นแนวทางพัฒนาการดูแลผู้ป่วยต่อไป

  10. วัตถุประสงค์ • เพื่อหาความชุกของโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอสอยดาว จ.จันทบุรี • เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองจำแนกตามเพศ, อายุ, โรคประจำตัวและการสูบบุหรี่ • เพื่อหาความชุกของโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง

  11. วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาเรื่องโรคหลอดสมองโดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลผู้ป่วย(โปรแกรม HosXp)ของโรงพยาบาลสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ระหว่างปีพ.ศ.2553-2556 ประมวลผลโดยโปรแกรม SPSS

  12. ตัวแปรที่ต้องการศึกษาตัวแปรที่ต้องการศึกษา • เพศ • อายุ • ชนิดของโรคหลอดเลือดสมอง : Ischemic, Hemorrhagic, Unknown • ปัจจัยเสี่ยง : DM, HT, DLP, Heart disease, Smoking • สถานะผู้ป่วย

  13. โรคหลอดเลือดสมอง รศ. พญ. นิจศรี ชาญณรงค์ สาขาประสาทวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  14. โรคหลอดเลือดสมอง Cerebrovascular disease CVD (CVA) STROKE Brain Attack “Rapidly developed clinical signs of focal(global) disturbance of cerebral function lasting more than 24 hours or leading to death, with no apparent cause other than a vascular origin.”

  15. เสียชีวิต ความผิดปกติ muscle weakness, ataxia, loss of sensation, etc Stroke ความพิการ Inability to walk, feed, etc เกิดโรคซ้ำ (สมองเสื่อมvascular dementia) ผลของ stroke ปัจจัยเสี่ยง

  16. STROKE ! ! หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบหรืออุดตัน สมองขาดเลือด ไม่ทำงาน

  17. โรคอัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต STROKE , CEREBROVASCULAR DISEASE (CVD) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1. โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Ischemic stroke) 2. โรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke) โรคหลอดเลือดสมอง

  18. Types of Ischemic Stroke

  19. การแตกของหลอดเลือดสมอง ทำให้มีเลือดออกมาคั่งและทำลายเนื้อสมองในบริเวณนั้น นอกจากนี้อาจกดเบียดสมองส่วนที่อยู่ใกล้เคียงทำให้สมองทำหน้าที่ไม่ได้ตามปกติ เกิดอาการอัมพฤกษ์หรืออัมพาต โรคหลอดเลือดสมองแตก

  20. ใคร ?คือผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ?

  21. ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง • โรคความดันโลหิตสูง • โรคเบาหวาน • การสูบบุหรี่ • โรคหัวใจ • สูงอายุ • ไขมันในเลือดสูง • แอลกอฮอล์ • ขาดการออกกำลังกาย • นอนกรน (sleep apnea) • อ้วน

  22. Stroke Risk Factors เปลี่ยนแปลงไม่ได้Non-modifiableAge, Gender, Race, Heredity Medical Conditions • Hypertension • Cardiac disease • Atrial fibrillation • Dyslipidemia • Diabetes mellitus • Carotid stenosis • Prior TIA or stroke • Elevated homocysteine • Atherosclerosis of aorta เปลี่ยนแปลงได้Modifiable • Behaviors • Cigarette smoking • Alcohol abuse • Physical inactivity Sacco RL, et al. Stroke 1997;28:1507-1517. Pancioli AM, et al. JAMA 1998;279:1288-1292.

  23. Prevalence of Stroke by Age and Sex NHANES III: 1988-94 p16 Source: CDC/NCHS.

  24. 1. หลอดเลือดแข็ง(Atherosclerosis) เกิดจากการเสื่อมของผนังหลอดเลือด มีไขมัน และหินปูนมาจับ พบได้ทั้งในหลอดเลือดสมองเอง และหลอดเลือดใหญ่ที่คอ มักพบในผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวาน, โรคไขมันในเลือดสูง หรือ สูบบุหรี่ สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

  25. สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

  26. โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

  27. 2.โรคหัวใจ ที่มีลิ่มเลือดหลุดไปอุดตันหลอดเลือดสมอง โรคลิ้นหัวใจผิดปกติ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 3. หลอดเลือดสมองอักเสบ 4. โรคเลือดบางชนิด 5. การบาดเจ็บของหลอดเลือด สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

  28. 1. โรคความดันโลหิตสูง 2. หลอดเลือดสมองผิดปกติแต่กำเนิด สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตก

  29. โรคหลอดเลือดสมองแตก

  30. รวดเร็วหรือทันทีทันใด!!รวดเร็วหรือทันทีทันใด!! • อ่อนแรงของร่างกายครึ่งซีก • ชาครึ่งซีก • เวียนศีรษะ ร่วมกับเดินเซ • ตามัว หรือ มองเห็นภาพซ้อน • พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง • ปวดศีรษะ อาเจียน • ซึม ไม่รู้สึกตัว อาการของโรคหลอดเลือดสมอง

  31. อาการของโรคหลอดเลือดสมองอาการของโรคหลอดเลือดสมอง 1669

  32. รีบไปพบแพทย์ทันทีอย่ามัวรอดูอาการรีบไปพบแพทย์ทันทีอย่ามัวรอดูอาการ เมื่อเกิดอาการของโรคหลอดเลือดสมองควรทำอย่างไร ?

  33. เมื่อเกิดอาการของโรค….เมื่อเกิดอาการของโรค…. • 15-20% เสียชีวิต • 20-30%มีความพิการขั้นรุนแรง • 50% มีความพิการเล็กน้อยหรือหายเป็นปกติ

  34. 1. ประวัติ ตรวจร่างกาย 2. ตรวจเพิ่มเติมเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง โลหิต: CBC, Cholesterol, น้ำตาล ... คลื่นไฟฟ้าหัวใจ(EKG) เอ็กซเรย์หัวใจ และ ปอด Echocardiogram 3. ตรวจสมอง & หลอดเลือด การตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง

  35. การตรวจสมอง & หลอดเลือด 1. เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) 2. การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI, MRA) 3. การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง(Ultrasound) 4. การตรวจด้วยการฉีดสีเข้าหลอดเลือด การตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง

  36. การรักษาโรคหลอดเลือดสมองการรักษาโรคหลอดเลือดสมอง

  37. Brain CT scan in Stroke ! Abnormal Normal Hypodense Hyperdense Ischemic stroke Hemorrhagic stroke

  38. Stroke Fast Track Consider Thrombolytic Treatment Onset 3hr CT neg Inclusion Exclusion

  39. 1. การรักษาโดยใช้ยา ยาละลายลิ่มเลือด thrombolysis Aspirin / ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด 2. การรักษาทั่วไป รับไว้ใน stroke unit ดูแลการหายใจ การให้สารน้ำ รักษาภาวะไข้ รักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูง พยายามไม่ลดความดันโลหิต (220/120 mmHg) 3.การทำกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบ

  40. 1. หลอดเลือดสมองแตกในเนื้อสมอง การรักษาทางยา การผ่าตัด 2. หลอดเลือดสมองแตกในช่องน้ำไขสันหลัง การรักษาทางยา Angiogram การผ่าตัด การรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตก

  41. การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเช่น ปอดอักเสบ แผลกดทับ • การรักษาภาวะแทรกซ้อนเช่นสมองบวม เลือดออกซ้ำซ้อน • การทำกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ การรักษาโรคหลอดเลือดสมอง

  42. 1. การป้องกันการเกิดซ้ำ • การควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ • การให้ยาป้องกัน • การออกกำลังกายที่เหมาะสม • การผ่าตัดหลอดเลือดใหญ่บริเวณคอ • 2. การฟื้นฟูสมรรถภาพโดยการทำกายภาพบำบัด • 3. การดูแลทางด้านจิตใจ และสังคม การรักษาระยะยาว

  43. ตัวแปรที่ต้องการศึกษาตัวแปรที่ต้องการศึกษา • เพศ • อายุ • ชนิดของโรคหลอดเลือดสมอง : Ischemic, Hemorrhagic, Unknown • ปัจจัยเสี่ยง : DM, HT, DLP, Heart disease, Smoking • สถานะผู้ป่วย

  44. สรุปผลการศึกษา • จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับการวินิจฉัยที่รพ.สอยดาวตั้งแต่ปีพ.ศ. 2553-ตุลาคม พ.ศ. 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 384 คน

  45. แผนภาพแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำแนกตามเพศแผนภาพแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำแนกตามเพศ

More Related