320 likes | 562 Vues
Miniresearch สิทธิผู้ป่วย. การพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล. ผู้รับผิดชอบโครงการ. ที่ปรึกษาโครงการ หัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ตรวจการและหัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ หัวหน้าโครงการ นางสาวเกษณา แซ่ล้อ ผู้ตรวจการพยาบาล ผู้ประสานงานคุณภาพ
E N D
Miniresearch สิทธิผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล
ผู้รับผิดชอบโครงการ • ที่ปรึกษาโครงการ หัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ตรวจการและหัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ • หัวหน้าโครงการนางสาวเกษณา แซ่ล้อ ผู้ตรวจการพยาบาล ผู้ประสานงานคุณภาพ • ผู้ร่วมวิจัย กรรมการ QAWN ตัวแทนจาก 16 หอผู้ป่วย
หลักการและเหตุผล • มาตรฐานโรงพยาบาลปี 2549 กำหนดการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยเป็นมาตรฐานหนึ่งในการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพโรงพยาบาล • ความสอดคล้องกับ ที่สภาการพยาบาลได้กำหนดมาตรฐานการรักษาสิทธิผู้ป่วยไว้เป็นหนึ่งในหมวดมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล • สุ่มสำรวจการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยในหอผู้ป่วยที่สังกัดงานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ • พบว่าส่วนใหญ่รับทราบสิทธิพื้นฐานตัวเองตามรัฐธรรมนูญ แต่ การตอบสนองสิทธิผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุม และบางส่วนรู้สึกว่าถูกละเมิดสิทธิเช่นการใช้คำพูดที่ไม่ระมัดระวังของบุคลากรพยาบาลโดยไม่ตั้งใจ
วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนและประเมินการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย • เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติตามมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
ตัวชี้วัด • หอผู้ป่วยมีการทบทวนและประเมินการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย • หอผู้ป่วยมีการปรับปรุงการปฏิบัติเพื่อคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
การดำเนินงาน • เริ่มตั้งแต่ เมษายน 2552 จนถึง ปัจจุบัน 1 ทบทวนปฏิบัติตามมาตรฐาน สุ่มประเมินปฏิบัติและสอบถามจากผู้รับบริการ 2 จัดทำโครงการนำเสนอผู้บริหารในงาน 3ดำเนินการทบทวนและประเมินการปฏิบัติจริงโดยตัวแทนจากทุกหอผู้ป่วยเข้าสุ่มสัมภาษณ์ผู้ป่วยจำนวน 30 ราย ในหอผู้ป่วยสามัญและวิกฤติ โดยใช้กรอบคำถามตามประเด็นสิทธิผู้ป่วย 4 วิเคราะห์ผล แจ้งให้หัวหน้าหอผู้ป่วยและตัวแทนจากหอ กำหนดแนวปฏิบัติเพื่อนำไปพัฒนาแก้ไข และทบทวนการปฏิบัติในหอผู้ป่วยตัวเอง
การดำเนินงาน 5 ติดตามความก้าวหน้า และหาโอกาสพัฒนาร่วมกัน และแจ้งให้หัวหน้าหอผู้ป่วยรับทราบเป็นระยะ 6 ใช้วิธีการเยี่ยมสำรวจโดยทีมผู้วิจัยเพื่อติดตามความก้าวหน้า 7 หอผู้ป่วยทบทวนและประเมินการปฏิบัติ และรายงานผลลัทธ์ให้งานการทราบ ขยายผลในส่วนที่ปฏิบัติได้ดี 8 ประเมินโครงการและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ
ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลช่องทางการเผยแพร่ข้อมูล • การประชุมร่วมของกรรมการQAWN ทุกเดือน • แจ้งผ่านหัวหน้าหอผู้ป่วย • ผ่านCop :: QA_dot_Com....การจัดการความรู้ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
สิทธิผูปวย10 ประการ 1. สิทธิพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ 2. ไมเลือกปฏิบัติ • ไดรับขอมูลเพียงพอชัดเจน • ไดรับการชวยเหลือทันทีเมื่อเสี่ยง 5. ทราบชื่อผูใหบริการ 6. ขอความเห็นที่สอง(ผูเชี่ยวชาญ) 7. ปกปดขอมูล(รักษาความลับ) • การเขารวมวิจัย(การอนุญาตหรือยกเลิกไมรวม) • ขอมูลในเวชระเบียน(การขอทราบขอมูล) • การใชสิทธิแทน(ผูปวยเด็ก พิการสติไมดี)
“ลักษณะการคุมครอง”ของสรพ. และการคุมครอง สิทธิผู้ป่วยตามมาตรฐานหมวดการปฏิบัติ ของสภาฯ
ความก้าวหน้าของการดำเนินการความก้าวหน้าของการดำเนินการ miniresearch เมื่อ 20เมย. 2552 • ถูกระเมิดสิทธิตามความรูสึกของผูปวย • เสียงดัง(การพูดคุย,การทํากิจกรรม,ญาติขางเตียง) • นอนเตียงชํารุดหลังผาตัดวันแรกและเตียงไขไมได้ • หลังผาตัดใหมๆนอนไกลจากเคานเตอร ออดไมเพียงพอใชงานไมได้ • ปวดแผลผาตัดมากมียาแกปวดฉีดทุก6 ชม. แตไมเพียงพอเมื่อรองขอไมไดรับยาและไมมีการใหขอมูลหรือ เหตุผลใดๆ
ถูกระเมิดสิทธิตามความรูสึกของผูปวยถูกระเมิดสิทธิตามความรูสึกของผูปวย 5 ยุงเยอะหองน้ำไมสะอาด 6 ไมสื่อสารกันในจนท.ผูปวยรูสึกวาถูกตอวาโดยตัวผูปวยเองไมไดทําผิด 7 พูดเรื่องสวนตัวของผูปวย เชนอวน • แพทยconference เรื่องของผูปวยแต่ ไมทําใหรูสึกวามีสวนรวมในการถกประเด็นที่เปนเรื่องของผูปวยเอง • แพทย round แตไมพูดกับผูปวย และไมใหขอมูลใด ไมกลาถาม • จนท.ไม่ระวังเรื่องเทคนิคตางๆเชน ใสถุงมือเทปสสาวะและมาแจก อาหารโดยยังใชถุงมือคูเดิม 11 ไมอยากใชอุปกรณตางๆรวมกับผูปวยอื่นๆเชนปรอทวัดไขที่ตองอมทางปาก, urinal
หอผูปวยทบทวนตนเองตามประเด็นเหลานี้หอผูปวยทบทวนตนเองตามประเด็นเหลานี้ • มีสถานการณใดบางที่ผูปวยอาจถูกละเมิดความเปนสวนตัว (เชน Expose ขณะทําหัตถการ, ผูปวยไมรูสึกตัวใสเสื้อผาปกปดไมมิดชิด เปดเผยรางกาย ฯลฯ) • มีสถานการณใดบาง ผูปวยอาจถูกทํารายทางกาย จิตใจ สังคมฯ • มีกระบวนการดูแลใดบาง เปน good practice เชน palliative care, การดูแลเด็กเล็ก, การผูกมัดผูปวยที่ญาติยอมรับและรวมดูแลดวย)
หอผูปวยทบทวนตนเองตามประเด็นเหลานี้ • มีประกาศสิทธิผูปวยหรือไม • สื่อสารขอมูลเรื่องสิทธิผูปวยดวยวิธีใด... • มีการคนหาเชิงรุกเพื่อคนหาโอกาสการคุมครองสิทธิผูปวยกลุมเสี่ยง อยางไรเพื่อมิใหถูกละเมิดสิทธิ เชนผูปวยเด็ก คนพิการคนสื่อภาษาไมได ฯลฯ
Mini research 18 ตค 2552 1 . ทุกหอผูปวยมี “ ประกาศสิทธิผูปวย” หรือไมและติดประกาศไวบริเวณใด • ทุกหอมีประกาศสิทธิ ฯ ติดไว ตําแหนงที่ติดประกาศ อยูในที่มองเห็นงาย เช่นประตูทางเขาดานหนา หนาหอง ในหอง แผนพับ แฟมสิทธิผูป่วย 2. หอผูปวยมีการคนหาเชิงรุกเพื่อหาโอกาสการคุมครองสิทธิผูปวยกลุมเสี่ยง อยางไรเพื่อไมไหถูกละเมิดสิทธิ • กลุมเด็กกลุมผูสูงอายุ กลุมที่ไมรูสึกตัวหรือมีปญหาสื่อสาร กลุมผูพิการ ให้ญาติเฝา ร่วมตัดสินใจ สื่อสารผ่านล่าม • กลุมประวัติทํารายตนเอง หรือ ตองตัดอวัยวะ สงปรึกษาจิตแพทย • case คดี ปกปดขอมูล ตรวจสอบผูเขาเยี่ยม
3 .คนหาและวิเคราะหตนเอง สถานการณใดบางที่ผูปวยอาจถูกทํารายทางรางกาย จิตใจ สังคม ทางร่างกาย • caseคดี เสี่ยงถูกทํารายซ้ำ ไมใหขอมูลเชิงลึกทางโทรศัพท ตรวจสอบผูเยี่ยม • ผู้ทํารายตนเอง เสี่ยงทําซ้ำ ปรึกษาแพทยทางจิตเวชทุกราย • นอนไมหลับเนื่องจากอุปกรณทางการแพทย จนท. ผู้ป่วยอื่น ปรับปรุงแกไขเชนเปลี่ยนสนรองเทา
ทางจิตใจ • พูดจาเสียดสี ปมดอย เช่น ไปหองพิเศษยายกลับมา , อ้วน, ดื่มสุราเกิดโรคและอุบัติเหตุ ไมพูดจาใหผูปวยกังวล • เลื่อนผาตัดบอย เครียด พ.อธิบายเหตุผลและจนท.ชวยพูด • แพทยพูดถึงผูป่วยอื่นใกลเตียง กังวล ผาน PCT • แจง HIV ไมประเมินความพรอม ประเมินความพรอม ใชคําวา “ บอกความจริง “ แทนคําวา “ แจงขาวราย “ • ผูปวยสับสน ไมแจ้งขณะใหการพยาบาลหรือ พูดวิจารณ์ ให้จนท. ความระมัดระวังการพูด ทางสังคม • ผูปวยถูกผูกมัด ญาติมาเห็นแลวรับไมได มีการอธิบายใหทราบถึงเหตุผล
4. คนหาและวิเคราะหตนเองมีสถานการณใดบางที่ผูปวยอาจถูกลวงละเมิดความเปนสวนตัวเช่น เปิดเผยรางกายเมื่อทําหัตถการ ,เปดเผยรางกายผู้ป่วยที่ไมรูสึกตัว • ทำแผลโดยไมปดมาน • ใส foley ' cath หรือ การทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธ • สับสนนุงผาขวางปกปดรางกายไมมิดชิด • การชวยฟนคืนชีพ • หองน้ำไมไดแยกของชายหญิง
5. วิเคราะหตนเองมีกระบวนการใดบางที่เปน Best practice • การดูแลผูปวยเด็ก เรื่องงดน้ำและอาหารและปองกันหกลมตกเตียงให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม • การดูแลแบบครบวงจรตั้งแต OPD ถึงหอผูปวยเช่น มะเร็งเตานม มะเร็งลําไสตรง • การดูแลผูปวยระยะสุดทาย - ใหแพทยคุยกับญาติ หอผูปวยจะดําเนินตามแนวทาง palliative care • ผูปวยที่ญาติไมตองการให CPR มีการแจงความประสงคไวเซ็นใบไว
Mini research 16 พย 52 ใช Tracer methodology เพื่อตามรอยดานการคุมครองสิทธิ • กลุมที่ 1 การดูแลผูปวยในสถานการณฉุกเฉิน เมื่อมาตรวจที่ER เขานอนที่หอผูปวย เพื่อ สังเกตอาการและเตรียมผาตัด ทั้งนี้ใหเริ่มตนตามรอยที่หอผูปวยกลุมวิกฤต-ฉุกเฉิน • กลุมที่ 2 การดูแลผูปวยในภาวะวิกฤติ การดูแลผูปวยหลังผาตัด ผูปวยที่อยูใน ICU , SubICU • กลุมที่ 3 การดูแลผูปวยในระยะ พักฟนพนระยะวิกฤตไปแลว เพื่อการเตรียมจําหน่าย เชน การดูแลผูปวยในหอผูปวยสามัญ ใหนํากรอบสิทธิผูปวย 4 ดานไปเปนประเด็นในการตามรอยการดูแลผูปวย
สิ่งที่หอผูปวยตองพิจารณาและนําไปปรับปรุงเพื่อใหเกิดรูปธรรมของการพิทักษสิทธิ์ หรือคุมครองสิทธิผูปวย 1. การตามรอยครั้งนี้ไมครอบคลุมในทุกประเด็น เชน สิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือโดยทันที่เมื่ออยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต(เนื่องจากการสุมเขาหอผูปวยวันนี้ไมมีผูปวยและญาติ, ไมเคยประสบกับสถานการณดังกลาว) 2. ในครั้งนี้ไมพบรูปธรรมของวิธีการแนะนําตนเองของจนท.(การรับรูของผูปวย ญาติ) ขอใหหอผูปวย กําหนดรูปธรรมการปฏิบัติใน หอผูปวยให้เหมาะสมกับบริบท จัดทําเนียบของจนท.ในทุก หอผูปวย
3. ใหสํารวจผูปวยกลุมใหญในหอผูปวยของตน และใชตัวอยางการตามรอยผูปวยในประเด็นการคุมครองสิทธิผูปวยนี้ ไปเปนแนวทางการตามรอยผูปวยตามบริบทของผูปวย เพื่อใหเห็นภาพการคุมครอบสิทธิผูปวยในหอผูปวยตนเอง 4. ใหหอผูปวย สุมตรวจสอบเวชระเบียนในเรื่องในประเด็นการคุมครองหรือพิทักษสิทธิ์ผูปวยที่หอผูปวยปฏิบัติ เพื่อทบทวนการบันทึกเวชระเบียนวาสอดคลองกับการปฏิบัติ หรือไม
Miniresearch สิทธิผูปวย 14 ธค 52 1. สิทธิการไดรับบริการทางสุขภาพ ดานบวก • ผูปวยรับทราบสิทธิของตนในการรับบริการ • บิดามารดามีสิทธิที่จะเฝาบุตร • ไดรับการแจงใหทราบเกี่ยวกับคายานอกบัญชี ยาหลัก • ไดรับอนุญาตใหทําพิธีกรรมทางศาสนา • ไดรับการชวยชีวิตในกรณีฉุกเฉิน เชน การ CPR การผาตัดฉุกเฉินเพื่อชวยชีวิต • กรณีผูปวยไมรูสึกตัว จะมีการแจงขอมูลใหญาติทราบ • คาใชจาย สิทธิคารักษา จะตองผานการยื่นสิทธิและแนะนําตามสิทธิของผูปวย แจงขอมูลใหทราบกอนเกี่ยวกับคารักษาสวนเกินเพื่อใหการรักษาที่ดีกวา เชน อุปกรณการแพทยบางอยาง
ดานลบ • บอกสิทธิพื้นฐานแตไมไดบอกสวนเกิน • คารักษาบางอยางที่ผูปวยและญาติตองรับผิดชอบนอกเหนือจากสิทธิ ไมมีการแจงใหทราบลวงหนา
2. สิทธิที่จะไดรับขอมูล ดานบวก -ไดรับขอมูลแรกรับ แจกนามบัตรหอผูปวยแกญาติ และผูปวย แจงเรื่องเวลาเยี่ยม -มีแผนพับแนะนําเรื่องโรค - เนนย้ำ เจาหนาที่ใหติดปายชื่อ - จนท.มีกรอบปายชื่อแขวนเปนสีแบบเดียวกัน เพื่อความเปนองคกร เดียวกัน ดานลบ - ยังมีใสเสื้อคลุมชุดพยาบาล และไมมีปาย identify ตัวเจาหนาที่
3. สิทธิในความเปนสวนตัว ดานบวก - ใชกระดานพลาสติกติดที่กระจกใสซึ่งตั้งระหวางหองผูปวย 4. สิทธิการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ดานบวก - ผูปวยออนแรงหรือทุพพลภาพ, หยาเครื่องชวยหายใจไมได ประสานเพื่อกายภาพบําบัด เชน นักกายภาพบําบัด และคณะเทคนิคการแพทย -วิตกกังวลมากหรือตองตัดแขน ขา หรือ ติดสุรา ขอใหแพทยชวย Consult จิตแพทย์ - เปลี่ยนแปลงการรักษาหรือผาตัดใหม มีการเซ็นใบยินยอมการรักษาใหมแจ้งให้ทราบ และ ตองระบุวาจะผาตัดอะไร -กรณีไมยินยอมรักษา ประสานงานกับแพทยเพื่อใหขอมูล แตถายังปฏิเสธการรักษา ตองการยายโรงพยาบาลจะชวยประสานงาน