1 / 7

การเก็บข้อมูลตาม โครงการ บูรณา การแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

การเก็บข้อมูลตาม โครงการ บูรณา การแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ. ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (ETE) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สรุปสถานการณ์พลังงานจังหวัด. ข้อมูลขั้นต้น. ข้อมูลเชิงคุณภาพ. บทที่ 1. ข้อมูลทั่วไป

juan
Télécharger la présentation

การเก็บข้อมูลตาม โครงการ บูรณา การแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บข้อมูลตามโครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศการเก็บข้อมูลตามโครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (ETE) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. สรุปสถานการณ์พลังงานจังหวัดสรุปสถานการณ์พลังงานจังหวัด ข้อมูลขั้นต้น ข้อมูลเชิงคุณภาพ บทที่ 1. ข้อมูลทั่วไป ภูมิศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม บทที่ 5. คุณภาพและความปลอดภัย สถิติอุบัติเหตุ คุณภาพและความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการพลังงาน บทที่ 2. อุปทาน/ศักยภาพพลังงาน เชื้อเพลิงธรรมชาติ พลังงานทดแทน บทที่ 6. ดัชนีด้านพลังงาน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม บทที่ 3. โครงสร้างพื้นฐานพลังงาน การแปรรูปพลังงาน และการขนส่งพลังงาน บทที่ 4. อุปสงค์/การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย การแยกหมวดหมู่การใช้พลังงานตามภาคส่วนต่างๆ ข้อมูลรอบด้าน (พลังงาน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม) ข้อมูลพลังงานทุกรูปแบบ ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ

  3. การรวบรวมข้อมูลของ สพจ. บทที่ 5. คุณภาพและความปลอดภัย สถิติอุบัติเหตุ คุณภาพและความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการพลังงาน บทที่ 2. อุปทาน/ศักยภาพพลังงาน เชื้อเพลิงธรรมชาติ พลังงานทดแทน การเก็บข้อมูลโครงการด้านพลังงาน (การอนุรักษ์พลังงาน และ การพัฒนาพลังงานทดแทน) ที่ได้ดำเนินการในจังหวัด โดยใช้งบประมาณจากแหล่งต่างๆ ในแต่ละปีทั้งของกระทรวงพลังงาน เอกชน จังหวัด หรือ กระทรวงอื่นๆ - สถิติการตรวจสอบและผลการตรวจสอบที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ผลการติดตามการปรับปรุงแก้ไข - จำนวนอุบัติเหตุในสถานประกอบกิจการพลังงาน รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน (ถ้ามี) - ข้อมูลทั้งไฟฟ้าและน้ำมัน

  4. การรวบรวมข้อมูลของ สพจ. เอกชน ลักษณะการดำเนินงาน : เป็นการลงทุนเพื่อสร้างระบบหรือโรงงานเพื่อผลิตพลังงาน เช่น โรงไฟฟ้า โรงผลิตถ่านอัดแท่ง ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ การดำเนินงานเพื่อเก็บข้อมูล : ติดต่อประสานงานกับเอกชนแต่ละแห่ง เพื่อเก็บข้อมูล อาจทำได้ทั้งการโทรศัพท์สอบถาม หรือการเข้าพบ ขอบเขตการเก็บข้อมูล : เน้นการเก็บข้อมูลของเอกชนรายใหญ่ รายย่อยยังไม่เอา เช่น ติดแผง Solar cell ขนาดเล็กๆ (แต่ถ้ามีข้อมูลอยู่แล้วก็ดี) ทั้งที่ผลิตขายและผลิตใช้เอง ขอย้อนหลังประมาณ 10 ปี พลังงานทดแทน ในแต่ละจังหวัดจะมีกลุ่มที่ดำเนินงาน 2 รูปแบบคือ หน่วยงานราชการ เช่น สำนักงานจังหวัด อบจ. เทศบาล อบต. เอกชน หน่วยงานราชการ ลักษณะการดำเนินงาน : จะได้รับงบประมาณในการดำเนินการแต่ละปี ซึ่งจะต้องมีการทำเอกสารเพื่อของบประมาณ และเอกสารสรุปการดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ การดำเนินงานเพื่อเก็บข้อมูล : ติดต่อประสานงานกับหน่วยราชการที่คาดว่า (หรือเคยได้ยินว่า) มีการดำเนินงาน และขอเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และกรอกลงแบบสอบถาม ขอบเขตการเก็บข้อมูล : ย้อนหลัง 3 ปี เอาทุกโครงการที่มี อาจลงเก็บข้อมูลในพื้นที่เอง หรือเก็บข้อมูลจากเอกสาร

  5. การรวบรวมข้อมูลของ สพจ. เอกชน ลักษณะการดำเนินงาน : เป็นการทำการอนุรักษ์พลังงานในหน่วยงาน เช่น การรณรงค์ประหยัดพลังงานต่างๆ การเปลี่ยนอุปกรณ์ ฯลฯ การดำเนินงานเพื่อเก็บข้อมูล : สำหรับโรงงานหรืออาคารขนาดใหญ่จะมีการทำรายงานไว้ ให้ประสานงานเพื่อขอเอกสารมาสรุป ขอบเขตการเก็บข้อมูล : เก็บข้อมูลเฉพาะสถานประกอบการขนาดใหญ่เท่านั้น ซึ่งจะได้ข้อมูลการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าเป็นส่วนใหญ่ สำหรับข้อมูลการอนุรักษ์พลังงานด้านน้ำมันเชื้อเพลิงจะมีน้อย การอนุรักษ์พลังงาน ในแต่ละจังหวัดจะมีกลุ่มที่ดำเนินงาน 2 รูปแบบคือ หน่วยงานราชการ เช่น สำนักงานจังหวัด อบจ. เทศบาล อบต. เอกชน หน่วยงานราชการ ลักษณะการดำเนินงาน : จะได้รับงบประมาณในการดำเนินการแต่ละปี ซึ่งจะต้องมีการทำเอกสารเพื่อของบประมาณ และเอกสารสรุปการดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ การดำเนินงานเพื่อเก็บข้อมูล : ติดต่อประสานงานกับหน่วยราชการที่คาดว่า (หรือเคยได้ยินว่า) มีการดำเนินงาน และขอเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และกรอกลงแบบสอบถาม ขอบเขตการเก็บข้อมูล : ย้อนหลัง 3 ปี เอาทุกโครงการที่มี อาจลงเก็บข้อมูลในพื้นที่เอง หรือเก็บข้อมูลจากเอกสาร ไม่เอาโครงการรณรงค์สร้างจิตสำนึก เนื่องจากมีความคลาดเคลื่อนในการวัดผลมาก

  6. แหล่งข้อมูลในจังหวัด การอนุรักษ์พลังงาน พลังงานทดแทน • หน่วยงานราชการ เช่น • ปศุสัตว์จังหวัด • เกษตรจังหวัด • อุตสาหกรรมจังหวัด • อปท. ต่างๆ เช่น อบจ. เทศบาล อบต. • เอกชน เช่น • โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ • โรงไฟฟ้าของเอกชน • ฟาร์มขนาดใหญ่ • หน่วยงานราชการ เช่น • ศาลากลาง • โรงพยาบาล • อุตสาหกรรมจังหวัด • อปท. ต่างๆ เช่น อบจ. เทศบาล อบต. • เอกชน เช่น • โรงงานอุตสาหกรรมใหญ่ๆ • ห้างขนาดใหญ่

  7. การประสานงานเรื่องเก็บข้อมูล หากมีคำถามเพิ่มเติม สพจ. สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ • ดร.ชัชวาลย์ ชัยชนะEmail: c.chaichana@eng.cmu.ac.th Tel : 081 568 9855 • นายภานุพงศ์ ไชยคำ Email : panupong@eng.cmu.ac.thTel : 081 027 2437 ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม อาคาร 30 ปี ชั้น 8 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200

More Related