590 likes | 851 Vues
การให้บริการตรวจโรคพิษสุนัขบ้า ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี. 23 มกราคม 2556. Rabies : The old foe. โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies). โรคติดต่อจากสัตว์สู่คนร้ายแรง พบใน 150 ประเทศทั่วโลก มีผู้ป่วยเสียชีวิตกว่า 55000 ในแต่ละปี ส่วนใหญ่เป็นประชากรในทวีปเอเชียและแอฟริกา
E N D
การให้บริการตรวจโรคพิษสุนัขบ้าศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกจังหวัดชลบุรีการให้บริการตรวจโรคพิษสุนัขบ้าศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกจังหวัดชลบุรี 23 มกราคม 2556
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) • โรคติดต่อจากสัตว์สู่คนร้ายแรง พบใน 150 ประเทศทั่วโลก • มีผู้ป่วยเสียชีวิตกว่า 55000 ในแต่ละปี ส่วนใหญ่เป็นประชากรในทวีปเอเชียและแอฟริกา • ผู้ถูกกัดโดยสัตว์ที่สงสัยว่าจะเป็นโรคพิษสุนัขบ้า กว่า 40% เป็นแด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี • ผู้ป่วยเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดการจากการถูกสุนัขที่ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้ากัด • การล้างแผลและให้ภูมิคุ้มกันอย่างทันท่วงที ช่วยป้องกันการเกิดโรคได้ • ผู้ได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิหลังถูกกัดปีละ 15 ล้านคน และวัคซีนช่วยป้องกันรักษาชีวิตผู้สัมผัสเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าได้ปีละนับแสนคน Source : http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs099/en/
Bat rabies in South America Desmodus rotundus Source : http://www.promedmail.org
ค้างคาวดูดเลือด • พบในภูมิภาค อเมซอน เขตประเทศบราซิล เปรู และบางส่วนของโคลอมเบีย • ค้างคาวแวมไพร์พบเฉพาะในลาตินอเมริกา มี 3 species ได้แก่ Diphylla ecaudata, Diaemus youngi, and Desmodus rotundus (the common vampire) • ในปี 2547, เฉพาะในอเมริกาใต้มีผู้ติดเชื้อพิษสุนัขบ้าจากสัตว์ป่ามากกว่าจากสุนัข • ในปี 2553 มีผู้ป่วยตายจากโรคพิษสุนัขบ้าในเขตอเมซอนอย่างน้อย 20 คน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ติดเชื้อจากค้างคาว Source : http://www.promedmail.org
Rabies in US since 2010 Source: http://www.cdc.gov/rabies/exposure/animals/wildlife_reservoirs.html
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
ผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้า ปี พ.ศ. 2546-2550 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
Rabies Situation in Thailand. J Med Assoc Thai 2005; 88 (9): 1319-22
อัตราผลบวกในสัตว์จากตัวอย่างส่งตรวจ ปี พ.ศ. 2538-2547 Rabies Situation in Thailand. J Med Assoc Thai 2005; 88 (9): 1319-22
การตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าภาคตะวันออกระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2545-พ.ค.2555 ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์เขต 2
การตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในภาคตะวันออกการตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในภาคตะวันออก แทนสัญลักษณ์ สุนัข แทนสัญลักษณ์ แมว แทนสัญลักษณ์ โคนม แทนสัญลักษณ์ โคเนื้อ แทนสัญลักษณ์ หมีควาย แทนสัญลักษณ์จังหวัด แทนสัญลักษณ์อำเภอ + 297 Cases
การตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าภาคตะวันออกระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2545-พ.ค.2555 ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์เขต 2
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจและวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้าการเก็บตัวอย่างส่งตรวจและวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้า VRDC-ER
การเก็บตัวอย่างเพื่อส่งตรวจการเก็บตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ
วิธีการส่งตัวอย่าง • สัตว์เล็กส่งได้ทั้งตัว • สัตว์ใหญ่ตัดส่งเฉพาะส่วนหัวติดท้ายทอย
วิธีการส่งตัวอย่าง • นำสัตว์หรือหัวสัตว์ใส่ถุงพลาสติกหนาหลายๆชั้น • รวบปากถุง มัดให้แน่น
วิธีการส่งตัวอย่าง • แช่ในน้ำแข็งแล้วบรรจุในกระติกหรือกล่องโฟม
วิธีการส่งตัวอย่าง • กรอกข้อมูลในใบนำส่งตัวอย่างเพื่อประกอบการตรวจวินิจฉัย • ชื่อที่อยู่เจ้าของสัตว์ ชนิดสัตว์ อายุ ประวัติการฉีดวัคซีน • ประวัติการสัมผัสสัตว์ป่วย อาการสัตว์ป่วย
ห้องปฏิบัติการตรวจโรคพิษสุนัขบ้าห้องปฏิบัติการตรวจโรคพิษสุนัขบ้า • หน่วยโรคพิษสุนัขบ้า สถานเสาวภา • ห้องปฏิบัติการโรคพิษสุนัขบ้า กรมปศุสัตว์ • หน่วยชันสูตรโรคสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ • ห้องปฏิบัติการในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ • โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และคณะแพทยศาสตร์
ห้องปฏิบัติการโรคพิษสุนัขบ้า กรมปศุสัตว์ • สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ บางเขน กทม. • ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ประจำภูมิภาค • สำนักงานปศุสัตว์เขต และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด
วิธีการตรวจวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้าวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้า ห้องปฏิบัติการไวรัส ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออก VRDC(ER) ISO/IEC 17025:2005 Accredited VRDC-ER
การตรวจโรคพิษสุนัขบ้าการตรวจโรคพิษสุนัขบ้า วิธี Fluorescent Antibody Test ( FAT ) วิธี Mouse Inoculation Test ( MIT ) วิธี จุลพยาธิวิทยา (Histopathology) วิธี RRT-PCR VRDC-ER
การชันสูตรโรคพิษสุนัขบ้าโดยวิธี FAT VRDC(ER) ISO/IEC 17025:2005 Accredited VRDC-ER
ผ่าหัวสุนัขเพื่อเก็บตัวอย่างจากสมองผ่าหัวสุนัขเพื่อเก็บตัวอย่างจากสมอง VRDC-ER
นำตัวอย่างสมองมาเกลี่ยลงบนสไลด์แก้วนำตัวอย่างสมองมาเกลี่ยลงบนสไลด์แก้ว VRDC-ER
นำสไลด์มาแช่ในน้ำยา Acetone 10-15 นาที VRDC-ER
หยด conjugate VRDC-ER
นำไปอบที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที VRDC-ER
นำสไลด์มาล้างด้วย PBS VRDC-ER
นำสไลด์มาส่องด้วยกล้อง Fluorescent VRDC-ER
ผลลบจะไม่พบจุดเรืองแสงสีเขียวผลลบจะไม่พบจุดเรืองแสงสีเขียว VRDC-ER
ผลบวกจะเห็นจุดเรืองแสงสีเขียวผลบวกจะเห็นจุดเรืองแสงสีเขียว VRDC-ER
การชันสูตรโรคพิษสุนัขบ้าโดยวิธี MIT VRDC-ER
เตรียมตัวอย่างสมอง VRDC-ER
บดเนื้อสมอง เติม PBS และยาปฏิชีวนะ VRDC-ER
ปั่นเหวี่ยงตัวอย่าง 15 นาที ตั้งทิ้งไว้นาน 30 นาที VRDC-ER
นำส่วนใสที่แยกตะกอนออกฉีดเข้าสมองหนูนำส่วนใสที่แยกตะกอนออกฉีดเข้าสมองหนู VRDC-ER
นำหนูที่ฉีดเชื้อแล้วไปเลี้ยงดูอาการ 28 วัน VRDC-ER
ถ้ามีหนูตายให้นำสมองไปตรวจอีกครั้งด้วยวิธี FAT VRDC-ER
การชันสูตรโรคพิษสุนัขบ้าโดยวิธีทางจุลพยาธิวิทยาการชันสูตรโรคพิษสุนัขบ้าโดยวิธีทางจุลพยาธิวิทยา VRDC-ER
การชันสูตรโรคพิษสุนัขบ้าโดยวิธี RRT-PCR VRDC-ER
สกัด RNA จากตัวอย่างสมอง และ Swab จากน้ำลาย VRDC-ER
เตรียม master mix VRDC-ER