1 / 58

สรุปผลการศึกษาวิจัย สุเมธ องกิตติกุล สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

โครงการศึกษา วิจัยกรอบและข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการพัฒนาระบบประกันภัยตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535. สรุปผลการศึกษาวิจัย สุเมธ องกิตติกุล สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. การบรรยายครั้งที่ 2 25 มีนาคม 2557. บุคลากรโครงการ. ดร. อัมมาร สยาม วาลา ที่ ปรึกษา โครงการ

Télécharger la présentation

สรุปผลการศึกษาวิจัย สุเมธ องกิตติกุล สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการศึกษา วิจัยกรอบและข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการพัฒนาระบบประกันภัยตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 สรุปผลการศึกษาวิจัย สุเมธ องกิตติกุล สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย การบรรยายครั้งที่ 2 25 มีนาคม 2557

  2. บุคลากรโครงการ ดร. อัมมาร สยามวาลา ที่ปรึกษาโครงการ ดร. ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ ที่ปรึกษาโครงการ ดร. สุเมธ องกิตติกุล หัวหน้าโครการ ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ นักวิจัยหลัก ดร. เสาวรัจ รัตนคำฟู นักวิจัยหลัก นักวิจัย ณิชมน ทองพัฒน์ ณัชชา โอเจริญ ปุญญภพ ตันติปิฎก ธิปไตร แสละวงศ์

  3. หัวข้อการนำเสนอ การบรรยายครั้งที่ 1 ความเป็นมาของการศึกษา 1. ระบบประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับในปัจจุบัน 2. ข้อมูลการสำรวจผู้ประสบภัยจากรถและผู้ทำประกันภัย 3. ข้อมูลจากการสำรวจสถานพยาบาล 4.

  4. หัวข้อการนำเสนอ การบรรยายครั้งที่ 2 การศึกษาระบบประภัยรถภาคบังคับในต่างประเทศ 1. การศึกษากองทุนทดแทนผู้ประสบภัย 2. การศึกษาอุตสาหกรรมประกันภัย 3. 4. ข้อเสนอการปรับปรุง พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

  5. ส่วนที่1 การศึกษาระบบประกันภัยรถภาคบังคับ ในต่างประเทศ

  6. การศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศการศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศ สิงคโปร์

  7. การศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศการศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศ สิงคโปร์

  8. ลักษณะการประกันภัยภาคบังคับลักษณะการประกันภัยภาคบังคับ

  9. การประกันภัย กรณีรถข้ามพรมแดนสิงคโปร์ • การประกันภัยรถข้ามแดนของสิงคโปร์และมาเลเซียใช้ระบบเดียวกัน • การให้บริการการประกันภัยแก่ยานพาหนะของไทยที่ข้ามแดนสิงคโปร์จะทำผ่านบริษัทประกันภัยที่เป็นสมาชิก Special Risk Pool (SRP) • บริษัทที่เป็นสมาชิก SRP จะให้ความคุ้มครองยานพาหนะข้ามแดนดังตารางข้างล่าง

  10. การศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศการศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศ ฮ่องกง

  11. การศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศการศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศ ฮ่องกง

  12. อุตสาหกรรมการประกันภัยยานยนต์อุตสาหกรรมการประกันภัยยานยนต์ ตลาดประกันภัยยานยนต์ตั้งแต่ปี 2001 โดยเฉลี่ยอยู่ในจุดคุ้มทุนเท่านั้น อย่างไรก็ตาม เบี้ยประกันรวมของประกันภัยยานยนต์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมี จำนวนรถที่ทำประกันภัยเพิ่มขึ้น โดยเบี้ยประกันรวมเพิ่มขึ้นประมาณ 47% จาก HK$2,839 ล้านในปี 2008 เป็น HK$4,173 ล้านในปี 2012 ที่มา: OCI Annual Report 2012

  13. ลักษณะการประกันภัยภาคบังคับลักษณะการประกันภัยภาคบังคับ

  14. Motor Insurers’ Bureau of Hong Kong

  15. Office of the Commissioner of Insurance (OCI) • เป็นทั้งหน่วยงานกำกับดูแล (regulator) และอำนวยความสะดวกในตลาด (market facilitator) การประกันภัยทั้งหมดในฮ่องกง • รวมทั้งดูแลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในอุตสาหกรรมประกันภัย • รูปแบบการกำกับดูแลของ OCI • หน้าที่ด้านการกำกับดูแลของ OCI ได้แก่ การตรวจสอบผู้รับประกันภัย โดยเฉพาะทางบัญชี และการดูแลการควบรวมกิจการ • ไม่มีการเข้าแทรกแซงการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย ปล่อยให้บริษัทประกันภัยกำหนดเบี้ยได้โดยเสรี ทั้งประกันภัยภาคบังคับและสมัครใจ • การดูแลการแข่งขันเป็นหน้าที่ขององค์กรอื่นๆ ของรัฐ • การกำกับดูแลประกันภัยยานยนต์

  16. การศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศการศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศ เกาหลีใต้

  17. การศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศการศึกษาระบบประกันภัยในต่างประเทศ เกาหลีใต้

  18. ประเภทของการประกันภัยและความคุ้มครองประเภทของการประกันภัยและความคุ้มครอง • ลักษณะการประกันภัยรถยนต์ • เจ้าของรถทุกคันต้องทำประกันภัยภาคบังคับ โดยเจ้าของรถสามารถซื้อความคุ้มครองอื่นๆ เพิ่มเติมได้ดังตาราง • ยานพาหนะทุกชนิดยกเว้น รถทางการทหารและเครื่องจักรทางการเกษตร • การประกันภัยภาคบังคับ • ครอบคลุมความรับผิดต่ออาการบาดเจ็บทางร่างกายที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่ 3 • ครอบคลุมความรับผิดต่อความเสียหายทางทรัพย์สิน • การประกันภัยภาคสมัครใจ • ครอบคลุมความรับผิดต่ออาการบาดเจ็บทางร่างกายที่เกิดขึ้น • ครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลส่วนเกิน/กรณีรถไม่มีประกัน/ความเสียหายทางร่างกาย

  19. การกำหนดเบี้ยประกันภัยการกำหนดเบี้ยประกันภัย • หลักการคิดค่าเบี้ยประกัน (Rating) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ประกอบไปด้วย • การคิดโดยใช้หลักพื้นฐาน (Basics) ได้แก่ ประเภทยานพาหนะ ความเป็นเจ้าของและการใช้งาน (ส่วนบุคคลหรือเพื่อการพาณิชย์) ประเภทของผู้ขับขี่ (อายุ เพศ และจำนวนการทำประกันภัย) และวงเงินสูงสุดของการประกันภัยที่มี (ยกเว้นกรณีความรับผิดในภาคบังคับ) • การคิดจากประวัติการขับขี่ (History)ได้แก่ ประวัติการเกิดอุบัติเหตุในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ประวัติการทำผิดกฎจราจร และประสบการณ์ในการขับของผู้ขับขี่ (ขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการขับขี่) • การคิดจากสภาพของยานพาหนะ (Vehicle)ได้แก่ การจัดระดับของสภาพรถตามรุ่นของรถ (Segment) และการพิจารณาอุปกรณ์เสริมในยานพาหนะ (ถุงลมนิรภัย กล่องดำ ฯลฯ) • วิธีการกำหนดค่าเบี้ยประกัน (Premium Determination) • ลักษณะการประกันภัยรถยนต์

  20. ลักษณะการประกันภัยรถยนต์ลักษณะการประกันภัยรถยนต์ • ประวัติการเปลี่ยนแปลงวงเงินความคุ้มครองของเกาหลีใต้ หน่วย: บาท

  21. วงเงินความรับผิดต่อบุคคลที่ 3 ของการประกันภัยภาคบังคับ • บทลงโทษของการไม่ทำประกันภัยภาคบังคับ • เจ้าของรถที่ไม่ทำประกันภัยภาคบังคับจะถูกปรับไม่เกิน 90,000 บาท โดยอัตราค่าปรับจะแตกต่างกันตามช่วงเวลาของการไม่ทำประกัน และประเภทของยานพาหนะ • ผู้ใช้รถที่ไม่ทำประกันภัยภาคบังคับจะถูกจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 150,000 บาท • กรณีผู้ขับขี่รถไม่ทำประกันประสบอุบัติเหตุ จะต้องชำระทั้งค่าปรับตามที่กำหนด และค่าความความรับผิดต่อร่างกายและทรัพย์สินตามการประกันภัยภาคบังคับ • ลักษณะการประกันภัยรถยนต์ หมายเหตุ: * จำนวนเงินที่ได้รับชดเชยขึ้นอยู่กับระดับความบาดเจ็บและทุพพลภาพ ตั้งแต่ระดับที่ 1-14

  22. กระบวนการในการเคลม • กระบวนการดูแลผู้ประสบอุบัติเหตุจราจร

  23. การชดเชยเยียวยาของประกันภัยภาคบังคับการชดเชยเยียวยาของประกันภัยภาคบังคับ • การชดเชยกรณีความรับผิดต่อการบาดเจ็บทางร่างกาย • ค่าปลงศพ/ค่าสินไหมทดแทนกรณีเสียชีวิต บาดเจ็บ หรือทุพพลภาพ/ค่ารักษาพยาบาล/ค่าชดเชยการขาดรายได้/ค่าใช้จ่ายจากอาการบาดเจ็บและภาวะทุพพลภาพหลังออกจากโรงพยาบาล • ระดับการบาดเจ็บและทุพพลภาพจะมีมาตรฐานการกำหนดราคาแตกต่างกัน • การชดเชยกรณีความรับผิดต่อความเสียหายทางทรัพย์สิน • ค่าซ่อมยานพาหนะ/ค่าชดเชยกรณีไม่สามารถซ่อมยานพาหนะได้/ค่าเช่ายานพาหนะ/ค่าชดเชยความเสียหายของยานพาหนะที่มีต่อธุรกิจ • กระบวนการดูแลผู้ประสบอุบัติเหตุจราจร ค่าชดเชยเฉลี่ยของผู้ประสบภัยของประเทศเกาหลีใต้

  24. รูปแบบการจัดหาทุน • บริษัทประกันภัยที่ประกอบกิจการประกันภัยภาคบังคับทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จะต้องสบทบเงินเข้ากองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ (Guarantee Fund) ในสัดส่วนร้อยละ 1 ของค่าเบี้ยประกันที่คุ้มครองความรับผิดต่อการบาดเจ็บทางร่างกายของบุคคลที่ 3 (Bodily Injury Liability I Premium) • การเคลม • ผู้ประสบภัยจากอุบัติเหตุชนแล้วหนี รถไม่มีประกันภัย และรถที่ขับโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือรถที่ถูกขโมยมา จะได้รับการชดเชยจากกองทุน โดยได้รับการชดเชยเท่ากับความคุ้มครองความรับผิดต่อการบาดเจ็บทางร่างกายของบุคคลที่ 3 (Bodily Injury Liability I Premium) • บริษัทประกันภัยจำนวน 13 แห่ง จะทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการการชดเชยจากกองทุน (Guarantee Service Providers) • ระยะเวลาในการได้รับการชดเชยอยู่ภายใน 3 ปี หลังจากการเกิดอุบัติเหตุ • หลักฐานที่ใช้ในการเคลม ได้แก่ เอกสารยืนยันการเกิดอุบัติเหตุกับรถจากตำรวจ ใบรับรองแพทย์หรือการตาย ใบเสร็จค่ารักษาพยาบาล และเอกสารอื่นๆ ที่จำเป็นแล้วแต่กรณี • กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ

  25. ระบบประกันภัยรถยนต์ในต่างประเทศระบบประกันภัยรถยนต์ในต่างประเทศ จากการศึกษาประเทศในอาเซียน + เกาหลีใต้ + ฮ่องกง + ไต้หวัน... ... พบประเด็นที่น่าสนใจดังนี้...

  26. ระบบประกันภัยในต่างประเทศระบบประกันภัยในต่างประเทศ ประเด็นที่น่าสนใจจากการศึกษาต่างประเทศ (ต่อ)

  27. วงเงินความคุ้มครองของประกันภัยภาคบังคับในต่างประเทศวงเงินความคุ้มครองของประกันภัยภาคบังคับในต่างประเทศ

  28. ส่วนที่2 การศึกษากองทุนทดแทนผู้ประสบภัย

  29. กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ • มาตรา 23 ความเสียหายที่เกิดแก่ผู้ประสบภัยจากรถในกรณีดังต่อไปนี้ ให้จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัยจากเงินกองทุน • (1) รถไม่ได้ทำประกันภัย • (2) รถที่ถูกโจรกรรม • (3) รถไม่มีเจ้าของและไม่ได้ทำประกันภัย • (4) ชนแล้วหนี • (5) บริษัทประกันภัยไม่จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น • (6) รถได้รับการยกเว้น

  30. กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย

  31. กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ จำนวนผู้ที่ใช้สิทธิค่ารักษาพยาบาลทั้งหมดในปี 2555 = 4,169 คน ค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ย = 8,815.37 บาท จำนวนผู้ที่ใช้สิทธิค่าปลงศพทั้งหมดในปี 2555 = 625 คน ค่าปลงศพเฉลี่ย = 34,856 บาท

  32. กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ

  33. สรุปการวิเคราะห์เพิ่มเติมกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยสรุปการวิเคราะห์เพิ่มเติมกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย • การเปรียบเทียบระหว่างงบประมาณรายจ่ายกับรายจ่ายจริงของกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยในปี 2555 – 2556 • ค่าเสียหายเบื้องต้น • งบประมาณรายจ่ายตั้งไว้สูงกว่ารายจ่ายจริงประมาณร้อยละ 40 – 50 • ค่าเช่าทรัพย์สิน • งบประมาณรายจ่ายตั้งไว้สูงกว่ารายจ่ายจริงประมาณร้อยละ 80 • ค่าใช้จ่ายด้านการส่งเสริมการประกันภัย • งบค่าใช้จ่ายด้านการส่งเสริมการประกันภัย เช่น ค่าใช้จ่ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และค่าใช้จ่ายโครงการยุวชนประกันภัย ที่ตั้งไว้ จะนำไปรวมในรายจ่ายตามแผนงาน/โครงการของงบประมาณรายจ่ายจริง ซึ่งทำให้การประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงานด้านนี้ทำได้ยาก การส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้ประสบภัยจากรถ

  34. สรุปการวิเคราะห์เพิ่มเติมกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยสรุปการวิเคราะห์เพิ่มเติมกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย • การดำเนินงานด้านบทลงโทษต่อผู้กระทำผิดมาตรา 23 • ทั้งนี้ มาตรา 23 (1) และ 23 (6) มีอัตราการจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นคืนกองทุนฯ สูงที่สุด 2 อันดับแรก ในขณะที่การขอใช้สิทธิตามมาตรา 23 (6) นั้นไม่ได้มีสูงเท่ากับมาตรา 23 (1) • สัดส่วนการจ่ายคืนของผู้ประสบภัยจากรถเมื่อเทียบกับการขอใช้สิทธิในมาตรา 23 (1) และ 23 (5) นั้นใกล้เคียงกัน ในขณะที่อัตราการจ่ายคืนของมาตรา 23 (5) นั้น ต่ำกว่า 23 (1) ค่อนข้างมาก

  35. สรุปการวิเคราะห์เพิ่มเติมกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยสรุปการวิเคราะห์เพิ่มเติมกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย ทั้งนี้ สัดส่วนของผู้ประสบภัยต่อจำนวนพนักงานแสดงถึงภาระงานของสำนักงาน คปภ. ในแต่ละจังหวัด โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนดังกล่าวสูงแสดงถึงประสิทธิภาพของการบริหารจัดการภาระงานที่ไม่มากเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยข้อมูลจำนวนพนักงานมีไม่ครบทุกสาขา ทำให้คณะผู้วิจัยจำเป็นต้องนำเสนอจังหวัดที่มีสัดส่วนดังกล่าวสูงที่สุด 5 ลำดับ • การเปรียบเทียบภาระงานของจำนวนกรณีชดเชยเยียวยาจากกองทุนฯ • ข้อมูลเบื้องต้นด้านการชดเชยเยียวยารายจังหวัด เทียบกับจำนวนบุคลากร

  36. ส่วนที่3 การศึกษาอุตสาหกรรมประกันภัย

  37. 3.1 โครงสร้างโดยทั่วไป • จำนวนรถที่ทำประกันภัยภาคบังคับ ปี 2555 (หน่วย: ล้านคัน) หมายเหตุ: *ข้อมูลจากการคำนวณโดยคณะผู้วิจัย **ข้อมูลกรมการขนส่ง ***คปภ. ที่มา: รวบรวมโดยคณะผู้วิจัย

  38. 3.1 โครงสร้างโดยทั่วไป • ขนาดของอุตสาหกรรมประกันภัยรถภาคบังคับ ปี 2545-2554 ที่มา: คปภ.

  39. 3.1 โครงสร้างโดยทั่วไป • การขยายตัวของจำนวนกรมธรรม์ภาคบังคับ ปี 2546-2555 ปัญหาการเมือง มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ที่มา: ข้อมูล GDP จาก สศช. และข้อมูลจำนวนกรมธรรม์จากคปภ.

  40. 3.2 ตลาดประกันภัยรถจักรยานยนต์ • แนวโน้มจำนวนกรมธรรม์รถจักรยานยนต์ ปี 2545-2555 มติ ครม. ให้บริษัท กลางฯ รับประกันภัยจักรยานยนต์ ที่มา: คปภ.

  41. 3.3 ตลาดประกันภัยรถยนต์และรถบรรทุก • จำนวนกรมธรรม์รถยนต์และรถบรรทุก ปี 2555 รวม 12 ล้านฉบับ ที่มา: คปภ.

  42. 3.3 ตลาดประกันภัยรถยนต์และรถบรรทุก • จำนวนกรมธรรม์รถยนต์และรถบรรทุก ปี 2545-2555 นโยบายรถคันแรก ที่มา: คปภ.

  43. 3.3 ตลาดประกันภัยรถยนต์และรถบรรทุก • อัตราการกระจุกตัว (Concentration Ratio-CR) ปี 2545-2555 ที่มา: คปภ., คำนวณโดยคณะผู้วิจัย

  44. 3.3 ตลาดประกันภัยรถยนต์และรถบรรทุก • มี “ผู้มีอำนาจเหนือตลาด”     ที่มา: (1) ประกาศคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า เรื่อง หลักเกณฑ์การเป็นผู้ประกอบธุรกิจซึ่งมีอำนาจเหนือตลาด พ.ศ. 2550 (2) คปภ.

  45. 3.4 สรุปโครงสร้างตลาด

  46. 3.5 สรุปพฤติกรรมในการแข่งขัน

  47. 3.6 สรุปต้นทุนและผลการดำเนินงาน

  48. 3.7 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  49. 3.7 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  50. 3.7 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

More Related