1 / 36

ศูนย์พิทักษ์เด็ก เยาวชนและสตรีตำรวจภูธรภาค ๒ และตำรวจภูธรจังหวัดชลบุรี

ศูนย์พิทักษ์เด็ก เยาวชนและสตรีตำรวจภูธรภาค ๒ และตำรวจภูธรจังหวัดชลบุรี. เรื่องสถานการณ์และปัญหาการล่อลวงหญิงเพื่อค้าประเวณี. หัวข้อเรื่อง. ภัยอันตรายที่เกิดกับสตรี การป้องกันตนเอง เมื่อเกิดเหตุคับขัน.

justus
Télécharger la présentation

ศูนย์พิทักษ์เด็ก เยาวชนและสตรีตำรวจภูธรภาค ๒ และตำรวจภูธรจังหวัดชลบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์พิทักษ์เด็ก เยาวชนและสตรีตำรวจภูธรภาค ๒ และตำรวจภูธรจังหวัดชลบุรี

  2. เรื่องสถานการณ์และปัญหาการล่อลวงหญิงเพื่อค้าประเวณีเรื่องสถานการณ์และปัญหาการล่อลวงหญิงเพื่อค้าประเวณี

  3. หัวข้อเรื่อง ภัยอันตรายที่เกิดกับสตรี การป้องกันตนเอง เมื่อเกิดเหตุคับขัน

  4. เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรบุคคลในอนาคตของชาติจำเป็นต้องดูแลเอาใจใส่ให้สามารถปรับตัวในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จาก พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ให้ความสำคัญกับเด็ก จำเป็นที่ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนและพัฒนาเด็ก ต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กมิให้ตกอยู่ในภาวะอันจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจ

  5. ปัจจุบันพบปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กซับซ้อนมากขึ้น เด็กต้องเผชิญกับปัญหาที่เกิดขึ้นจาก • ความอ่อนแอของสถาบันครอบครัว • สภาพแวดล้อม • สภาพสังคมที่ไม่ปลอดภัย • ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี • ข้อมูลข่าวสารที่แทรกซึมเข้าสู่วิถีชีวิตของสังคมไทย

  6. ส่งผลกระทบต่อระบบความคิด ทัศนคติ การเรียนรู้ รวมทั้งพฤติกรรมของเด็ก ทำให้เด็กมีโอกาสในการดำเนินชีวิตที่ผิดพลาดได้ง่าย ปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นคือ มีการลักพาเด็กออกจากครอบครัว สถิติของศูนย์ข้อมูลคนหายพบว่า ระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน 2549 เป็นช่วงปิดภาคเรียนมีเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี หายจากบ้านมากกว่า 82 ราย

  7. ลักษณะการหายออกจากบ้าน ได้แก่ • การหนีออกจากบ้านโดยไม่ได้รับอนุญาต • การถูกหลอกลวงลักพาตัวเด็ก

  8. ปัจจุบันเด็กและสตรีกำลังเผชิญกับปัญหาคือปัจจุบันเด็กและสตรีกำลังเผชิญกับปัญหาคือ • การถูกกระทำทารุณกรรม • การถูกล่วงละเมิดทางเพศทั้งจากคนในครอบครัวและจากบุคคลใกล้ชิด • ปัญหาการถูกล่อลวง • ปัญหาการถูกทอดทิ้ง • ปัญหาเด็กเร่ร่อน

  9. 1.การสังเกต 1.1 บุคคลที่พึงระวัง , คนแปลกหน้า , ลักษณะข้อมูลบุคคลที่พึงระวัง

  10. ข้อมูลที่น่าตกใจคุณรู้หรือไม่ว่า ? การที่คุณเดินคุยโทรศัพท์มือถือ และใส่หูฟังเพลงนั้นอันตราย การเก็บข้อมูลจากนักโทษคุกบางขวางและลาดยาว ผู้ก่ออาชญากรรมทางเพศจำนวน 100 คน ได้ข้อมูลดังนี้

  11. 99%เลือกผู้หญิงเดินคนเดียว99%เลือกผู้หญิงเดินคนเดียว 95.9% เลือกผู้หญิงที่เดินถนนกลางคืน 90% เลือกผู้หญิงผมยาว เพราะกระชากจากข้างหลังได้ง่าย 87.5% เลือกผู้หญิงที่สวมเสื้อผ้าถอดง่าย (หากพบคนถูกใจ แต่สวมเสื้อผ้าถอดยาก อาจกลับมาอีกครั้งพร้อมกรรไกร หรือคัดเตอร์) 84% เลือกผู้หญิงที่เดินไปคุยโทรศัพท์ไปด้วยหรืออ่านการ์ตูน เพราะไม่ได้ระวังตัว 80% สามารถข่มขืนได้โดยใช้อุปกรณ์ที่ผู้หญิงมีช่วย เช่นเข็มขัด ลูกกุญแจ กระจกส่องหน้า (ทุบให้แตกเป็นคมเสียก่อน) 70% เลิกล้อมความตั้งใจหากผู้หญิงคนนั้นจ้องหน้าแล้วเริ่มต้น สนทนาสั้นๆกับเขาก่อนที่จะประชิดตัวเช่น“ขอโทษนะค่ะ กี่โมงแล้ว?!”

  12. 1.2 พื้นที่ที่พึงระวัง เช่น • สถานีขนส่ง • บนรถเมล์ • สถานีรถไฟ • ท่าเรือ • สวนสนุก • ห้างสรรพสินค้า • สวนสาธารณะ • สถานบันเทิง , โรงแรม , คาราโอเกะ , ร้านเกมส์ , หอพักนักเรียน นักศึกษา

  13. 1.3 สถานการณ์เสี่ยง เช่น • ถูกชักชวนไปกินขนม / เล่นเกมส์ • ถูกชวนไปเที่ยวเล่น • ถูกชวนไปทำงาน • ถูกสัมผัส • ถูกล่วงละเมิด • อื่นๆเช่น ดูสื่อลามก , หนังสือพิมพ์(บันเทิง) , CD ,อินเตอร์เน็ต ,คลิปวิดีโอจากโทรศัพท์มือถือ

  14. ภาพจากสื่อต่างๆ

  15. 2. การเฝ้าระวัง

  16. 2.1 บทบาทของครอบครัว การดูแลใกล้ชิด ให้ความรักความอบอุ่น

  17. 2.2 บทบาทหน้าที่ของเด็ก • อยู่ใกล้ผู้ใหญ่ที่ไว้วางใจ เช่น พ่อ แม่ ครู ญาติสนิท • ไม่เล่นหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ลับสายตาผู้ใหญ่ • หากพบว่ามีสถานการณ์หรือบุคคลไม่น่าไว้วางใจให้รีบแจ้งผู้ใหญ่

  18. 2.3 บทบาทของชุมชน • จัดระเบียบพื้นที่เสี่ยงในชุมชน • จัดเวรยามแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ/อปพร.ดูแลพื้นที่เสี่ยง • เป็นเครือข่ายในการรับแจ้งข้อมูลและส่งต่อข้อมูลเด็กหาย

  19. 3. การส่งต่อข้อมูล • การรับแจ้งข้อมูลต้องมีรายละเอียด,รูปถ่าย,รูปพรรณสัณฐาน,ตำหนิ,ลักษณะพิเศษของเด็ก • การประสานเครือข่ายในชุมชนและนอกชุมชน เช่นโรงเรียน ตำรวจ สถานประกอบการช่วยติดตามเด็ก • ช่วยรับแจ้งเบาะแสและส่งเบาะแสให้ตำรวจติดตาม

  20. เด็กไทยตัวอย่าง

  21. ก่อนเดินทางออกจากบ้านทำสิ่งต่อไปนี้ก่อนเดินทางออกจากบ้านทำสิ่งต่อไปนี้ • หาอุปกรณ์ที่สามารถช่วยส่งเสียงดังติดตัวเช่น คล้องนกหวีด • ตั้งสติ อย่าใจลอย • เก็บโทรศัพท์มือถือในที่หยิบง่าย

  22. เมื่อเกิดเหตุคับขัน • ถ้าคนร้ายต้องการจี้ อย่าเสียดายทรัพย์สิน เพราะจะเสียสวัสดิภาพของตัวเองไป • ส่งสัญญาณเพื่อขอความช่วยเหลือ เช่น เป่านกหวีดหรือตะโกนดังๆเรียกความสนใจ

  23. เทคนิคการต่อสู้เพื่อเอาตัวรอดแต่ต้องชิงลงมือก่อนที่คนร้ายจะรู้ตัวโดยจัดการกับจุดอ่อนของผู้ชายดังนี้เทคนิคการต่อสู้เพื่อเอาตัวรอดแต่ต้องชิงลงมือก่อนที่คนร้ายจะรู้ตัวโดยจัดการกับจุดอ่อนของผู้ชายดังนี้

  24. ดวงตา ใช้เล็บจิกเข้าไป จิ้ม หรือปาทรายเข้าตา จะชะงักการทำร้ายได้ชั่วคราว

  25. จมูก ใช้อุ้งมือกระแทกเสยเข้าไปแรงๆ ท่ากำหมัดจะสู้แรงผู้ชายไม่ได้

  26. ลูกกระเดือก ใช้นิ้วโป้งและนิ้วชี บีบเข้าไปตรงๆ หรือกระแทกเข้าไปเร็วๆ

  27. เป้ากางเกง เตะผ่าหมาก หรือขึ้นเข่ากระแทกเป้าแรงๆ

  28. เป้ากางเกง เตะผ่าหมาก หรือขึ้นเข่ากระแทกเป้าแรงๆ

  29. ประยุกต์ของใช้ใกล้ตัวเป็นอาวุธประยุกต์ของใช้ใกล้ตัวเป็นอาวุธ โทรศัพท์มือถือ ถ้ากำลังโทรศัพท์อยู่ให้บิดมือตัวเองและใช้สัน โทรศัพท์กระแทกที่ข้อมือ ถ้ามีระยะห่างจะปาใส่หน้าก็ได้ บัตรเอทีเอ็ม ถ้าโดนจี้ช่วงกดบัตร ใช้บัตรกีดตา ใบหน้าหรือ ลูกกระเดือก

  30. ร่ม ใช้ปลายร่มที่แหลม ทิ่ม ฟาด หรือ ดีดสปริงหรือกางร่มใส่หน้าคนร้าย รองเท้าส้นสูง กระทืบแรงๆ ถ้าเป็นรองเท้าแตะรีบถอด ใช้ส้นตีที่หน้าหรือเขวี่ยงใส่หน้า กำไร ถ้าใส่กำไลวงหนาหนัก เหวี่ยงแขนเต็มแรงให้กำไลฟาดหน้า กระเป๋าถือ เหวี่ยงใส่หน้าคนร้าย กุญแจรถหรือบ้าน ใช้ปลายกุญแจจิ้มเข้าตา หรือจิ้มอย่างแรงที่ร่างกายบริเวณนอกเสื้อผ้า(ควรเตรียมกุญแจในมือให้พร้อม เพราะคนร้ายมักใช้โอกาสช่วงที่เหยื่อหากุญแจเข้ามาทำร้าย)

  31. สวัสดี

More Related