1 / 142

วิชา การขนส่งด้วยรถยนต์

วิชา การขนส่งด้วยรถยนต์. การปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์. รถยนต์เป็นเครื่องมือที่มีคุณลักษณะสามารถใช้ปฏิบัติงานได้ตามลำพัง เชื่อมกับขนส่งประเภทต่างๆ เช่น เชื่อมกับสถานีขนส่งทางอากาศ ทางน้ำ ทางรถไฟ รถยนต์ ใช้ขนถ่ายสัมภาระจากวิธีการขนส่งอย่างหนึ่งไปอีก

kadeem-head
Télécharger la présentation

วิชา การขนส่งด้วยรถยนต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา การขนส่งด้วยรถยนต์

  2. การปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์การปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์ รถยนต์เป็นเครื่องมือที่มีคุณลักษณะสามารถใช้ปฏิบัติงานได้ตามลำพัง เชื่อมกับขนส่งประเภทต่างๆ เช่น เชื่อมกับสถานีขนส่งทางอากาศ ทางน้ำ ทางรถไฟ รถยนต์ ใช้ขนถ่ายสัมภาระจากวิธีการขนส่งอย่างหนึ่งไปอีก อย่างหนึ่ง เป็นวิธีการขนถ่ายที่เหมาะสมที่สุดในการแจกจ่าย สป. หรือ ใช้เพิ่มเติมการขนส่งประเภทอื่นๆ เป็นการบริการที่ใช้ได้อย่างต่อเนื่อง เพราะมีความสามารถในการเคลื่อนที่สูง

  3. ข้อดี • อ่อนตัว • เพิ่มความหยุ่นตัวให้กับการขนส่งประเภทอื่น ๆ • ขนของได้จำนวนมาก • ประหยัด(ขนระยะใกล้) • ข้อเสีย • สิ้นเปลือง (ขนระยะไกล) • ขนได้น้อย (ไม่มีการรวมรถ)

  4. คุณสมบัติของบริการขนส่งด้วยรถยนต์คุณสมบัติของบริการขนส่งด้วยรถยนต์ • ปฏิบัติงานอิสระ • ปรับการปฏิบัติงานเข้ากับความต้องการของหน่วย • รับการสนับสนุนทุกหน่วย • เป็นตัวเชื่อมบริการขนส่งประเภทอื่น ๆ • รักษาคุณสมบัติของตนได้ตลอดเวลา

  5. คุณลักษณะของการขนส่งด้วยรถยนต์คุณลักษณะของการขนส่งด้วยรถยนต์ • ดัดแปลงให้เหมาะกับงานได้ง่าย • ความอ่อนตัว • ความเร็ว • ตามกฎเกณฑ์ • ไว้วางใจได้

  6. การบริการขนส่งด้วยรถยนต์การบริการขนส่งด้วยรถยนต์ ขนส่งกำลังพล + สป. จัดส่งยานพาหนะ จัดระเบียบทางหลวง

  7. วิธีและประเภทของการปฏิบัติการขนส่งวิธีและประเภทของการปฏิบัติการขนส่ง 1.วิธีการปฏิบัติ • หลักการขนส่งด้วยรถยนต์ • แบบของการขน ( Type Haul ) • วิธีการขน ( Hauling Method )

  8. หลักการขนส่งด้วยรถยนต์หลักการขนส่งด้วยรถยนต์ • ใช้เต็มขีดความสามารถ ( Maximum Use ) • ประหยัด ( Economic Use ) • กำหนดมาตรฐาน ( Standardization ) • เวลางดใช้งานน้อยที่สุด ( Dead-Line Limit ) • เวลาขนขึ้น และ ขนลง น้อยที่สุด ( Less Delay Time )

  9. แบบของการขน 1.ระยะใกล้ 2. ระยะไกล

  10. การขนส่งระยะใกล้ เป็นการขนส่งระยะทางสั้นๆ หลายเที่ยวใน 1 วัน โดยใช้ พลขับ และ รถคันเดิมทำให้สิ้นเปลืองเวลาการขนขึ้น+ขนลง มากกว่าเวลาที่ใช้ในการเดินทาง มูลฐานการขนระยะใกล้ เวลาขนขึ้น + ขนลง > เวลาเดินทาง ระยะทาง < 50 ไมล์/เที่ยว เดินทางไป-กลับ 4 เที่ยว/วัน

  11. การขนส่งระยะไกล เป็นการขนระยะทางยาวกว่าขนส่งระยะใกล้ใช้เวลาเดินทาง มากกว่าการขนขึ้น+ขนลง เดินทางวันละ 2 เที่ยว และ ใช้เวลาผลัดละ 10 ชม. มูลฐานการขนระยะไกล เวลาขนขึ้น + ขนลง < เวลาเดินทาง เดินทางไป-กลับ 2 เที่ยว/วัน ผลัดละ 10 ชม. อัตราเร็วเฉลี่ย 20 ไมล์/ชม. ระยะทาง < 90 ไมล์/ช่วง

  12. วิธีการขน 4 วิธี 1. วิธีการขนโดยตรง 2. วิธีการเทียวขน 3. วิธีการขนส่งทอด 4. วิธีการขนแบบผสม

  13. วิธีขนโดยตรง เป็นการขนจากตำบลต้นทางไปยังตำบลปลายทาง เที่ยวเดียวเสร็จ ภารกิจ โดยสัมภาระที่บรรทุกไปยังคงอยู่บนรถคันเดิม และ พลขับคนเดิม วิธีนี้ใช้ในกรณี มีเวลาปฏิบัติงานจำกัด หรือเป็นการขนทางยุทธวิธี A B

  14. การเทียวขน เป็นการขนจากตำบลต้นทางไปยังตำบลปลายทางหลายๆ เที่ยว จนเสร็จภารกิจการขนวิธีนี้จะใช้เวลาเดินทางบนถนนน้อยกว่า เวลา ขนขึ้น -ขนลงวิธีนี้ใช้เมื่อมีเวลาปฏิบัติเพียงพอ หรือ การขนทางธุรการ 1 A B 2 3

  15. การขนส่งทอด เป็นการขนไปข้างหน้าเป็นช่วงอย่างต่อเนื่องจนถึงปลายทาง การขนวิธีนี้แต่ละช่วงจะมีการสับเปลี่ยนพลขับและหัวรถลากจูงโดยที่ รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ-กำลังพลคงถูกขนไปข้างหน้า วิธีนี้เหมาะในการ ปฏิบัติการขนส่งระยะไกล หรือขนระหว่างเขต A C B

  16. วิธีการขนส่งแบบผสม • การขนส่งแบบ พิกกี้แบค • การขนแบบ โรลออน - โรลออฟ • การขนแบบ ลิฟท์ออน - ลิฟท์ออฟ • การขนผสมทางอากาศ • การขนผสมแบบเรือเล็กร่วมเรือใหญ่

  17. การขนส่งแบบพิกกี้แบค เป็นการขนแบบผสมซ้อนบนรถไฟ โดยรถบรรทุกสัมภาระแล้ว จะถูกนำไปบรรทุกบนตู้เปิด (บขถ.) ที่สถานีต้นทางจากนั้นจะ เคลื่อนย้ายโดยรถไฟจนถึงสถานีปลายทาง แล้วใช้รถหัวลากหรือ ขับลงจากรถไฟไปยังที่หมาย การขนแบบนี้มี 2 แบบ TOFC COFC

  18. การขนแบบ โรลออน-โรลออฟ เป็นการบรรทุกที่ใช้รถหัวลากและรถกึ่งพ่วงบรรทุกสัมภาระ แล้วขับขึ้นไปบนเรือชนิดพิเศษ ณ ท่าเรือต้นทาง โดยไม่ปลดขอพ่วง แล้วเดินทางไปยังท่าเรือปลายทางโพ้นทะเล จากนั้นจะเคลื่อนย้ายโดย ขับรถลากและรถพ่วงลงจากเรือไปตามเส้นทางสู่ตำบลปลายทาง ซึ่งให้ผล ด้าน ความเร็ว คล่องตัว และประหยัด

  19. การขนแบบลิฟท์ออน-ลิฟท์ออฟการขนแบบลิฟท์ออน-ลิฟท์ออฟ เป็นการขนโดยรถกึ่งพ่วงที่บรรทุกแล้วเคลื่อนย้ายไปยังท่าเรือแล้ว ปลดออกจากรถลากจูงจากนั้นใช้ปั้นจั่นยกลงจากเรือเมื่อเดินทางถึง ท่าเรือโพ้นทะเลแล้ว รถกึ่งพ่วงเหล่านั้นจะถูกยกออกจากท่าเรือ โดยปั้นจั่นแล้วใช้รถลากจูงไปยังจุดหมายปลายทาง

  20. การขนผสมทางอากาศ เป็นการขนยานพาหนะที่ขนสัมภาระที่มีความเร่งด่วนสูง เคลื่อนย้ายโดยทางอากาศจากสถานีต้นทางไปยัง ปลายทาง

  21. การขนผสมแบบใช้เรือลำเลียงเล็กร่วมกับเรือใหญ่การขนผสมแบบใช้เรือลำเลียงเล็กร่วมกับเรือใหญ่ เป็นการขนส่งที่นำรถกึ่งพ่วงหรือตู้บรรทุกสัมภาระที่บรรทุกเรียบร้อยแล้ว บรรทุกลงในเรือเล็ก จากนั้นนำเรือเล็กบรรทุกไว้ในเรือใหญ่ที่ต้นทาง ไปยังสถานีปลายทาง วิธีนี้ใช้เมื่อไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวก ที่ท่าเรือเพียงพอ

  22. 2.ประเภทต่างๆของการปฏิบัติ2.ประเภทต่างๆของการปฏิบัติ 1. การขนออกจากสถานีขนส่งทางน้ำ 2. การปฏิบัติการขนที่สถานีรับส่งด้วยส่งรถยนต์บรรทุก 3. การปฏิบัติการขนส่ง ณ ที่ตั้งหน่วย 4. การปฏิบัติการขนถ่าย 5. การสนับสนุนการรบ 6. การสนับสนุนการช่วยรบ 7. การบริการระหว่างเขต

  23. 1.การขนส่งออกจากสถานีขนส่งทางน้ำ1.การขนส่งออกจากสถานีขนส่งทางน้ำ การขนออกจากท่าเรือ การขนส่งจากหาด

  24. 2.การขนที่สถานีขนส่งด้วยรถยนต์บรรทุก2.การขนที่สถานีขนส่งด้วยรถยนต์บรรทุก

  25. 3.การขนส่ง ณ ที่ตั้งของหน่วย การสนับสนุนทางธุรการ การสนับสนุนคลังภายในพื้นที่

  26. 4.การขนถ่าย การขนถ่ายสัมภาระหรือกำลังพลจากหน่วยขนส่งหน่วยหนึ่ง ไปยังอีกหน่วยหนึ่งหรือประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง

  27. การขนถ่าย

  28. ตำบลขนถ่าย 1. สถานีปลายทางรถไฟ 2. สถานีปลายทางรถยนต์บรรทุก 3. สถานีรับส่งทางน้ำในแผ่นดิน 4. สถานีปลายทางท่อ 5. สถานีปลายทางรับส่งทางอากาศ

  29. 5.การสนับสนุนการรบ หน่วยทหารขนส่งด้วยรถยนต์ถูกใช้ในการสนับสนุโดยตรงต่อการปฏิบัติ ทางยุทธวิธี ทน. / พล. และ อาจจะใช้หน่วยทหารขนส่งด้วยรถยนต์ใน อัตราสมทบ

  30. 6.การสนับสนุนการช่วยรบ6.การสนับสนุนการช่วยรบ การปฏิบัติการจากคลังถึงคลัง การปฏิบัติการจากคลังถึงตำบลส่งกำลัง ทน.

  31. คลังสนับสนุนโดยตรง X X DSU DSU DSU X X X X XX X X เขต หน้า X X X X X X X X X X X X GSU GSU คลังสนับสนุนทั่วไป X X X O O O O เขต หลัง O O O O คลัง คลัง

  32. การบริการระหว่างเขต - การบังคับบัญชา - การจัด - ยุทโธปกรณ์ - การวางแผนการปฏิบัติ

  33. การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์

  34. การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์ 1. จำนวนรถยนต์ที่ใช้งาน 2. ขีดความสารถในการบรรทุก 3. เวลาปฏิบัติงานตามวงรอบประจำวัน 4. อัตราการเคลื่อนที่ 5. ระยะทาง 6. เวลาที่เสียไป 7. ตัน * ไมล์ และ คน * ไมล์ 8. ยอดยานพาหนะที่สามารถนำมาใช้ได้ 9. ขีดความสามารถของกองร้อย รยบ. มูลฐานที่ใช้

  35. 1.จำนวนรถยนต์ที่ใช้งาน1.จำนวนรถยนต์ที่ใช้งาน -วางแผนล่วงหน้า ( ทั่วไป ) 75 % - วางแผนระยะสั้น ( เฉพาะภารกิจ ) 83 % 2.ขีดความสารถในการบรรทุก นอกเส้นทาง (ถนนเลว ) = อัตราบรรทุกของรถ รถใช้ล้อเพิ่ม 100 %ของอัตราบรรทุก ในเส้นทาง รถกึ่งพ่วงเพิ่ม 50%ของอัตราบรรทุก รถลากรถพ่วงเพิ่ม 60% ตัวรถพ่วงห้ามบรรทุกเกินอัตรา กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ผบ.หน่วยผู้มีอำนาจสั่งการให้บรรทุกเกินอัตราได้ ในและนอกเส้นทาง

  36. 3. เวลาปฏิบัติงานตามวงรอบประจำวัน ปฏิบัติงานตลอดวัน 20 ชม. ขนระยะไกล 2 เที่ยว/วัน (ขนส่งทอด ) ขนระยะใกล้ 4 เที่ยว/วัน ( เทียวขน ) 4. อัตราการเคลื่อนที่ นอกเส้นทาง (ถนน เลว) 10 ไมล์/ชม. ในเส้นทาง ( ถนน ดี) 20 ไมล์/ชม.

  37. 5.ระยะทาง ขนระยะไกล 90 ไมล์ ( 144 กม. ) ขนส่งทอด ขนระยะใกล้ 25 ไมล์ ( 40 กม. ) เทียวขน 6. เวลาที่เสียไป สิ่งอุปกรณ์ (ขนขึ้น+ขนลง) = 2 . 5 ชม. กำลังพล ( ขนขึ้น+ขนลง ) = 0 . 5 ชม. สับเปลี่ยนรถพ่วงครั้งละ = 0 . 5 ชม.

  38. 7.ตัน *ไมล์ และ คน * ไมล์ ผลคูณระหว่างจำนวนตันหรือจำนวนผู้โดยสารกับระยะทางเป็นไมล์ที่ขนไปได้ การขนระยะใกล้ รวมการระบายจากท่าเรือและชายหาด จำนวนตัน ต่อรถ 1 คัน ใน 1 เที่ยว ระยะทาง ไมล์ (ไป) จำนวนเที่ยว 1 คัน/วัน เวลาที่เสียไป แบบรถ MIH บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 4 12.5 4 10 2,5 รกกึ่งพ่วง12 ตัน S & P 12 20 4 10 1

  39. การขนระยะไกล จำนวนตัน ต่อรถ 1 คัน ใน 1 เที่ยว ระยะทาง วัน/เที่ยว (ไมล์) จำนวนเที่ยว 1 คัน/วัน เวลาที่เสียไป แบบรถ MTH บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 4 75 2 10 2.5 รกกึ่งพ่วง12 ตัน S & P 12 90 2 10 1

  40. ความสามารถในการบรรทุกความสามารถในการบรรทุก X ไม่นับพลขับ XX เฉพาะครั้งคราว สิ่งบรรทุกหรือสินค้า คนพร้อมเครื่องกล เครื่องประจำกาย (เฉลี่ย) แบบรถ นอกถนน (ตัน) บนถนน (ตัน*เฉลี่ย) สูงสุด (ตัน) บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 2.5 4 5 20X รกกึ่งพ่วง12 ตัน S & P 12 12 18 50XX รถกึ่งพ่วง25ตัน 25 25 25 50XX

  41. 8. ยอดยานพาหนะที่นำมาใช้ X คิดตามจำนวนรถใช้งาน 75%ของจำนวนรถที่บรรจุจริง ยานพาหนะที่นำมาใช้ จำนวนรถ ที่บรรจุจริง งานพิเศษ หน่วย วางแผน ล่วงหน้า X ใช้ได้จริง X ร้อย.ขส.รยบ.เบา 60 45 45 53 ร้อย.ขส.รยบ.กลาง 60 45 45 57 ร้อย.ขส.รยบ.หนัก 24 18 18 34 แหล่งรวมรถบรรทุก ไม่จำกัด

  42. 9. ขีดความสามรถของกองร้อยรถยนต์บรรทุก ชนิดของการส่ง ชนิด การขนระยะไกล ( ตันไมล์/วัน) การขนส่งระยะใกล้ (ตันสั้น/วัน/กองร้อย) บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 720 27,000 รกกึ่งพ่วง12 ตัน 2,160 97,200

  43. การคำนวนหาจำนวนรถและจำนวนกองร้อยรถยนต์บรรทุกการคำนวนหาจำนวนรถและจำนวนกองร้อยรถยนต์บรรทุก วิธีขนโดยตรง จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน ขีดความสามารถในการบรรทุกตัน/คัน จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย

  44. EX ในการปฏิบัติการขน สป. ครั้งหนึ่ง มีรายละเอียด ในการขนจากตำบล ก.ไปตำบล ข. ดั้งนี้ 1. จำนวน สป. ที่ต้องการขน 360 ตัน 2. ขีดความสามารถของ รยบ. 5 ตัน/คัน 3. จำนวนรถ/กองร้อย ( 75 % ) 36 คัน อยากทราบว่าการปฏิบัติการขน สป. ครั้งนี้จะต้องใช้ รยบ. จำนวนกี่คันและต้องใช้หน่วยปฏิบัติการครั้นี้จำนวนกี่กองร้อย

  45. สป. 360 T ขีด 5 T/คัน ร้อย = 36 คัน ตำบล ก. ตำบลข. จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน ขีดความสามารถในการบรรทุกตัน/คัน = 360 = 72 คัน 5 จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย = 72 36 = 2 กองร้อย

  46. วิธีเทียวขน เวลาวงรอบ = 2 X ระยะทาง (ไป) + เวลาที่เสียไป อัตราการเคลื่อนที่ จำนวนเที่ยว/วัน =เวลาปฏิบัติงาน/วัน เวลาวงรอบ =20 เวลาวงรอบ หมายเหตุ จำนวนเที่ยวจะต้องเป็นจำนวนเต็มเสมอ เศษปัดทิ้ง มิฉะนั้นจะเกินเวลาปฏิบัติงาน / วัน

  47. จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน การบรรทุกตัน/คัน X จำนวนเที่ยว/วัน X จำนวนวัน จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย

  48. EX.1 ในการขนระยะใกล้จากคลังถึงคลัง มีระยะทาง 15 ไมล์ จะต้องขน สป . จำนวน1,500ตัน ให้หมดภายใน 3 วัน โดยวิธีเทียวขน เส้นทางที่ใช้เป็นเส้นทางชั้น60น้ำหนักบรรทุก/คัน เท่ากับ 4 ตัน และใช้อัตราการเคลื่อนที่ 20 ไมล์/ชม.จะต้องใช้ รยบ. 2 1/2 ตัน 6X 6 กี่คันต่อวัน และเป็นจำนวนกี่กองร้อย A 15 ไมล์ B ระยะทาง 15 ไมล์ สป. 1,500 T เวลาปฏิบัติ 3 วัน น้ำหนักบรรทุก 4 T/คัน อัตราการเคลื่อนที่ 20 ไมล์/ชม. เวลาปฏิบัติงาน 20 ชม./วัน รยบ.ที่ใช้งาน ( 75 % ) = 36 คัน

  49. เวลาวงรอบ = 2 X ระยะทาง (ไป) + เวลาที่เสียไป อัตราการเคลื่อนที่ = 2 X 18 + 2.5 24 = 4 ชม. จำนวนเที่ยว/วัน =เวลาปฏิบัติงาน/วัน เวลาวงรอบ =20 เวลาวงรอบ = 20 = 5 = 4 เที่ยว 4 การขนส่งระยะใกล้ ไม่เกิน 4 เที่ยว

  50. จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน การบรรทุกตัน/คัน X จำนวนเที่ยว/วัน X จำนวนวัน =1, 500= 31.25 = 32 คัน 4 X 4 X 3 จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย = 32/36 = 0.89 = 1 กองร้อย

More Related