1 / 17

รศ 601 ระบบสังคมและการเมืองไทย Nida 8 PHS

เศรษฐกิจ. ทฤษฎีระบบ กระบวนการ กำหนด นโยบาย สาธารณะ. กฎหมาย. ปัญหา สังคม. รศ 601 ระบบสังคมและการเมืองไทย Nida 8 PHS. สังคม. การเมือง. Civil Society. ขอบเขต อ.จุรี. ประวัติ. ปฎิรูป โครงสร้าง. ขอบเขต อ.มนตรี. สรุป องค์ความรู้ ปรัชญา ลัทธิประชาธิปไตย วัฒนธรรม พัฒนา

kamuzu
Télécharger la présentation

รศ 601 ระบบสังคมและการเมืองไทย Nida 8 PHS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐกิจ ทฤษฎีระบบ กระบวนการ กำหนด นโยบาย สาธารณะ กฎหมาย ปัญหา สังคม รศ 601 ระบบสังคมและการเมืองไทย Nida 8 PHS สังคม การเมือง Civil Society ขอบเขต อ.จุรี ประวัติ ปฎิรูป โครงสร้าง ขอบเขต อ.มนตรี สรุป องค์ความรู้ ปรัชญา ลัทธิประชาธิปไตย วัฒนธรรม พัฒนา การมีส่วนร่วม ผู้นำ และ การตัดสินใจ วัฒนธรรม การเมือง ปฎิรูป การเมือง การมีส่วนร่วม การพัฒนา ทางการเมือง ปรัชญาทาง การเมือง (คุณธรรม) ขอบเขต อ.สมบัติ 1

  2. 1.2 กลุ่มแนวคิด คุณธรรมทางการเมือง (โสเครติส,เพลโต,อริสโตเติล) โสเครติส รัฐ-กฎหมาย-ราชาปราชญ์- คุณธรรม รัฐ - คนไม่สามารถอยู่โดดเดี่ยว ต้องอยู่รวมกลุ่มเป็นรัฐและเรียนรู้คุณธรรมจากสังคม กฎหมาย - เป็นเครื่องมือในการดำรงคุณธรรม ปราชญ์เป็นผู้กำหนดกฎหมาย ราชาปราชญ์ - ผู้ปกครองที่ดีต้องมีความรู้และมีคุณธรรม ดังนั้นจึงควรให้ปราชญ์ปกครอง คุณธรรมทางการเมือง (WIS-COU-TEM-JU-PIE) –ปัญญา(wis) รู้อะไรดีไม่ดี -ความกล้าหาญ(cou) ในการรักษาความถูกต้อง -การควบคุมตัวเอง(tem) การควบคุมตนเองไม่ให้ ตกเป็นทาสความโลภ โกรธ หลง -ความยุติธรรม(ju) ผู้นำมีความยุติธรรมก็จะมีคนดี อยู่ใกล้ๆ -การกระทำความดีและยกย่องคนดี(pie)ในความดี ยกย่องคนดี ใช้คนดีเป็นแบบอย่างในสังคม 1) ปรัชญาการเมือง (Political Virtue)xx 1.1 แนวคิดทางการเมืองการเมือง เป็น เรื่องของการใช้อำนาจ เพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน ประเทศที่พัฒนาแล้ว มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะผู้นำมีคุณธรรม ประชาชนอยู่ดีกินดี รายได้ต่อหัวไม่ได้แสดงค่าที่เป็นจริง เพราะ คนรวยกระจุก คนจนกระจาย ปัญหาคนจนมาก เกิดจากความด้อยโอกาสทางการศึกษา การเมืองมีผลต่อวิถีชีวิตของประชาชน ต้องตั้งเป้าหมายเพิ่มคนชั้นกลางให้มากขึ้นโดย ให้ความรู้ ปัจจุบัน เป้าหมาย 2

  3. เพลโต – มหาคัมภีร์ทางรัฐศาสตร์ • The Republicรัฐในอุดมคติ (อุตมรัฐ) • รัฐที่ดีทำให้คนมีความสุข • การปกครองควรทำให้คนส่วนใหญ่เห็นพ้อง • และควรปกครองด้วยราชาปราชญ์ • การศึกษาเป็นกลไกที่หล่อหลอมคนให้มีคุณธรรม • Put the right man on the right job • ธาตุทอง ผู้ปกครอง ใฝ่รู้มีคุณธรรม • ธาตุเงิน นักรบ ใฝ่รบ • ธาติทองแดง พ่อค้า ใฝ่ขาย • Laws นิติรัฐ • รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดแบ่งการบริหารเป็น นิติบัญญัติ (สภาล่าง) • บริหาร (สภามนตรี) • ตุลาการ • การบังคับใช้กฎหมาย การลงโทษควรเปลี่ยนจิตใจให้สำนึก กลับตัวใหม่ มากกว่าลงโทษ ให้หลาบจำ • คุณสมบัติผู้นำ – ราชาปราชญ์ • มีความรู้ • มีคุณธรรม • เสียสละทุ่มเท ไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย • ผู้ปกครองไม่ควรมีทรัพย์สิน ครอบครัว มีแล้วโลภ มีแล้วมีห่วง และจะสะสมทรัพย์ให้ครอบครัว 3 Aristotle - บิดาของการเมืองเปรียบเทียบ ปัญญา เกิดจากการเรียนรู้เกี่ยวกับความดี ศีลธรรมเกิดจากการอบรมให้ประพฤติดี ประโยชน์ส่วนตัว ประโยชน์ส่วนรวม อำนาจผู้ปกครอง

  4. แนวคิด มาเคียเวลลี – ผู้ปกครองแบบมาเคียเวลเลี่ยนควรเป็นแบบ สุนัขจิ้งจอกผสม สิงโต มุ่งเน้นความสำเร็จในโลกความเป็นจริง มุ่งเน้น เป้าหมายแห่งอำนาจรัฐ Endโดยไม่สนใจMeansว่าจะมีคุณธรรมจริยธรรมหรือไม่ End justify Means ผู้ปกครองควรแสดงออกเมตตา ซื่อสัตย์ มีน้ำใจ มีคุณธรรมแต่ไม่ให้ประพฤติปฎิบัติเพราะจะเป็นภัยแก่ตัว ให้ใช้ประชาชน ศาสนา ทหาร ในการรักษาอำนาจ จอหน์ ล็อค – Trust กับสัญญาประชาคม มีอิทธิพลต่อระบอบประชาธิปไตย ใช้ประกาศอิสระภาพ ของ USA “Pure Locke” มนุษย์ต้องสละเสรีภาพบางประการ เพื่อสร้างประชาคม ที่ให้เสรีภาพเท่าเทียมกันโดยทำสัญญาร่วมกัน ใช้กฎหมาย คุ้มครอง สิทธิเสรีภาพ รัฐเป็นเรื่องส่วนรวม ศาสนาเป็นเรื่องส่วนตัว ประชาคมมีลักษณะเหมือน Trust (บริษัท) ประชาชนเลือกผู้แทนมาบริหาร แบ่งเป็น 3 ส่วนอิสระ จากกัน นิติบัญญัติมีอำนาจสูงสุด หมายความว่า ผู้แทนต้องบัญญัติกฎหมายตามความต้อง การของประชาคม บริหารต้องปฎิบัติตามกฎหมาย ศาลก็ต้องตัดสินตามกฎหมาย ถ้าผู้ปกครองไม่ใช้อำนาจ เพื่อประชาชนให้ถอดถอน ประชาชนต้องมีส่วนร่วม กลุ่มแนวคิด สัญญาประชาคม (โทมัส ฮอบส์, จอหน์ ล็อค, รุสโซ) Social contract โทมัส ฮอบส์ มนุษย์แสวงหาความปลอดภัย โดยการทำ สัญญาประชาคมร่วมกัน แล้วมอบ สิทธิให้ แก่ผู้ปกครอง เพื่อให้ปกป้องความปลอดภัย อำนาจเป็นของประชาชน ถ้าผู้ปกครองเป็นทรราช ก็ให้โค่นล้ม แต่ความเป็นจริงทำยากเพราะผู้นำมีอำนาจในมือ 4

  5. รุสโซ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน Man is born free ผู้มีอำนาจควรมีคุณธรรม ทำสัญญาประชาคมร่วมกันเพื่อเสรีภาพเท่าเทียมกัน ชนชั้นใดบัญญัติกฎหมายก็เพื่อประโยชน์ของชนชั้นนั้น ดังนั้นประชาชนไม่ควรโอนอำนาจให้ใคร การเลือกผู้แทน เป็นจุดเริ่มต้นของหายนะเพราะในที่สุด ผู้แทนก็จะชิงอำนาจไปจากประชาชน ประชาชนมีหน้าที่ 2 อย่าง 1) ประชาชน ทำหน้าที่โดยการปฎิบัติตามกฎหมาย 2) The general willเจตจำนงค์ทั่วไป ในฐานะผู้ทรงอำนาจอธิปไตย ประชาชน ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการบัญญัติกฎหมาย 5

  6. ทฤษฎีระบบ ของ เดวิด อีสตัน - ใช้อธิบายกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ ระบบประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆที่มีหน้าที่เฉพาะของตนเองและประสานกับองค์ประกอบอื่น การเมืองดำรงอยู่เหมือนสิ่งมีชีวิต (Political Life ) ที่ต้องปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อมจึงจะอยู่รอด Demand ความต้องการทางสังคม เช่นการศึกษา, สาธารณสุข ความต้องการทางเศรษฐกิจ เช่นเงินเดือน Decision กลั่นกรองและ ตัดสินใจ Politic System นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ Input Output นโยบายสาธารณะ Support การสนับสนุนในการ ปฎิบัติตามกฎหมายของประชาชน เช่น กฎหมายภาษีอากร Action สิ่งแวดล้อม ภายใน – ระบบนิเวศวิทยา แล้ง น้ำท่วม - ระบบชีววิทยา สมดุลสิ่งมีชีวิตเสีย - ระบบบุคคลิกภาพ ต้องเป็นแบบแผน - ระบบ สังคมและเศรษฐกิจ แผน 8 ศก ไม่โต ภายนอก – การเมืองระหว่างประเทศ น้ำมัน ก่อการร้าย - นิเวศระหว่างประเทศ Green house effect - สังคมระหว่างประเทศวัฒนธรรมตะวันตก แต่ก่อนปัจจัยภายในมีผลมากเพราะการ สื่อสารไม่ดี แต่ตอนนี้ปัจจัยภายนอกมีผล มากเช่นราคาน้ำมัน 6

  7. 2) ลัทธิการเมือง ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) • ระบอบประชาธิปไตยโดยตรง ของนครรัฐเอเธนส์ • (Athenian Direct Democracy) แบ่งประชาชนเป็น 4 กลุ่ม • Citizen (ผู้ชายที่มีทรัพย์สิน), ผู้หญิง, พ่อค้า, ทาส • ให้ Citizen เข้ามาปกครองแต่เจอพวกมากลากไป ไม่สนใจเสียงส่วนน้อย • พัฒนามาเป็นการเมือง อังกฤษ • สภาสามัญชน มีอำนาจสูงสุด • สภาขุนนาง มีอำนาจกลั่นกรองกฎหมาย • ระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน • (Representative Democracy) • ปรัชญาระบอบประชาธิปไตยX(LIE-HU-POP) • Human natureธรรมชาติของมนุษย์ • มีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน • 2. Libertyเสรีภาพ เท่าเทียมกัน คือ ผมไม่ละเมิดคุณ คุณไม่ละเมิดผม • 3. Equalityมีโอกาสเท่าเทียมกัน • 4. Popular sovereigntyอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน • มนุษย์เปลี่ยนแปลงได้ อย่าให้ใครมีอำนาจสมบูรณ์แบบ Absolute power Corrupts Absolutely 7

  8. หลักการระบอบประชาธิปไตยXX(MA-LIE-RU-POP)หลักการระบอบประชาธิปไตยXX(MA-LIE-RU-POP) 1. Popular Sovereigntyอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน สัมพันธ์กับ ความอยู่ดีกินดีของประชาชน เพราะเลือกผู้นำที่ดีเข้าไปบริหารประเทศ ถ้าไม่ทำเพื่อประชาชนต้องเอาออก ปัญหาคือ ผู้นำที่ดีมีน้อย 2. Libertyเสรีภาพ สัมพันธ์กับ Corruption เพราะสามารถใช้เสรีภาพในการตรวจสอบเป็นอาวุธในการถอดถอน ถ้าเสรีภาพมีมาก Corruption น้อย ถ้าเสรีภาพมีน้อย Corruption มาก เสรีภาพเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้นักการเมืองประพฤติดี เพราะรู้ว่ามีคนตรวจสอบอยู่ คนดีก็เสียได้ เพราะ Absolute power Corruption Absolutely ยิ่งมีอำนาจมาก โอกาสทุจริตก็ยิ่งมาก 3. Equalityหลักความเสมอภาค สัมพันธ์กับการผูกขาด ควรให้ทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน เช่น ผูกขาดผลิตเหล้า 4. Rule of Lawsหลักกฎหมาย กฎหมายต้องมาจากประชาชน เพราะ ชนชั้นใดบัญญัติกฎหมาย ชนชั้นนั้นก็จะได้ประโยชน์ การบังคับใช้กฎหมายต้องเสมอภาคกัน ได้รับความคุ้มครองจากกระบวนการยุติธรรมเท่าเทียมกัน ศาลทหารถือว่าละเมิดกระบวนการยุติธรรม เพราะมีแค่ศาลชั้นต้น 5. Majority rule Minority right การตัดสินใจใดๆให้อิงเสียงข้างมากแต่ต้องเคารพความคิดเห็นของเสียงข้างน้อยด้วย 8

  9. รูปแบบการเมืองประชาธิปไตย แบ่งได้เป็น 3 แบบX 1.Fusion of Powerควบอำนาจ (Parliamentart system) แบบ อังกฤษ แยกกษัตริย์ออกจาก ฝ่ายบริหาร ประชาชนเป็นผู้เลือก ฝ่ายนิติบัญญัติ (สส.) ฝ่ายนิติบัญญัติเลือกบริหาร พรรคเสียงข้างมากจัดตั้งรัฐบาล หัวหน้าพรรคเป็นนายกฯ ฝ่ายบริหารทำ 2 หน้าที่ทั้ง สส. กับ บริหาร จึงเรียกแบบควบอำนาจ การตรวจสอบ นิติบัญญัติมีอำนาจเหนือบริหารแต่ความจริง บริหารมีอำนาจเหนือกว่าเพราะนายกฯ เป็นหัวหน้าพรรค การคานอำนาจ อภิปรายไม่ไว้วางใจถ้ามติไม่ไว้วางใจต้อง ยุบสภาหรือลาออก ของไทย รธน. 2540 ห้ามยุบสภาหลัง อภิปราย คนเสนอยุบต้องเสนอตัวนายกไว้เลย ตัวอย่าง King อังกฤษ เดนมาร์ค ญี่ปุ่น สวีเดน เนเธอร์แลนด์ ประธานาธิบดี อินเดีย สิงค์โปร์ บังคลาเทศ ปากีสถาน ข้อดี 1 เลือกเพียงนิติบัญญัติแล้วเลือกบริหารเอง 2 มีโอกาสเปลี่ยนผู้นำง่าย 3 ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถควบคุมได้ใกล้ชิด 4 ฝ่ายบริหารมาจากผู้แทนที่รู้ปัญหาและความต้องการของประชาชน ข้อเสีย 1 สส. เป็น รมต. ได้ทำให้เกิดการซื้อเสียง 2 รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพ 3 การซื้อเสียงนำไปสู่การคอรัปชั่นถอนทุน 4 ผู้แทนไม่มีทักษะการบริหาร นายกฯ ไม่มีอิสระในการเลือก รมต. 2 ผู้บริหารไม่มีประสิทธิภาพเพราะทำหน้าที่ นิติบัญญัติด้วย 3 นายกมาจากเขตเล็กๆ ไม่สามารถเป็นตัว แทนประเทศได้ วิจารณ์ 1 รูปแบบนี้ไม่สนใจเรื่องเสถียรภาพของรัฐบาล ถ้ารัฐบาลไม่มีประสิทธิภาพให้ยุบสภาเปลี่ยนบ่อยได้ถ้าประชาชน เห็นว่าไม่ดี ทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพ 9

  10. 2. Separation of Power แบ่งแยกอำนาจ (Presidential system)แบบ อเมริกา แยกนิติบัญญัติ ออกจากบริหาร ประมุขไม่จำเป็นต้องมาจากบริหาร แต่USA ปธน. เป็นประมุข ประชาชนเลือก สส. จากสัดส่วน,ส.ว. เลือกรัฐละ2 คนเสนอกฎหมายได้ทั้ง 2 สภาแต่ต้องผ่านการรับรองทั้ง2 สภา ผู้แทนไม่จำเป็นต้องสังกัดพรรค ประชาชนเลือกบริหารโดยเลือกปธน.จากElectro vote โดยเสียงเกินกึ่งหนึ่งไม่มีการอภิปรายและการยุบสภา การคานอำนาจ นิติบัญญัติเสนอกฎหมาย ปธน. ลงนาม ปธน. มีสิทธิVeto ถ้า 2 สภาเสียงน้อยกว่า 2 ใน 3ให้ตกไป ถ้าเกินให้ปธน. ลงนาม ถ้าไม่ ให้ประกาศใช้ การตรวจสอบ มี คณะกรรมาธิการตรวจสอบไต่สวน อัยการพิเศษตรวจสอบข้อมูลนำฟ้องศาลอาญาได้การถอดถอน (Impeachment) ปธน. มี 3 ข้อ ทรยศ ทุจริต ขายชาติ ทำได้โดยสภาล่าง เสนอสภาสูง สภาล่างเป็นอัยการ สภาสูงเป็นลูกขุน ผู้พิพากษาศาลฎีกา เป็นประธาน ถอดได้ถ้าเสียง > 2 ใน 3 ข้อดี 1 รัฐบาลมีเสถียรภาพ 2 ปธน.มีอิสระในการเลือก รมต. 3 ฝ่ายบริหารไม่ต้องเข้าร่วมประชุมกับนิติบัญญัติ และไม่ต้องกลัว อภิปรายไม่ไว้วางใจ 4 มีการตรวจสอบที่เข้มแข็ง ทำให้ฝ่ายบริหารต้องทำงานอย่างรอบคอบ 5 ประชาชนเป็นผู้เลือกคนที่มีประสิทธิภาพ มาทำงาน ข้อเสีย 1 กระบวนการเลือกตั้งฝ่ายบริหารใช้เวลานาน และสิ้นเปลือง 2 แยกอำนาจบริหารจากนิติบัญญัติอาจขัดแย้งกัน 3 ฝ่ายบริหารมีอำนาจมากจนทำให้นิติบัญญัติไม่สามารถทัดทานได้ 4 ฝ่ายนิติบัญญัติมีอำนาจมาก ในการไต่สวนอาจเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน ตัวอย่าง ฟิลิปปินส์ 10

  11. 3 Mixed system or Power Executive รูปแบบกึ่งรัฐสภา ต้นแบบ คือ ฝรั่งเศส ฝ่ายบริหารมีอำนาจสูงมาก ประชาชนเลือก ปธน. โดยตรง(> กึ่งหนึ่ง) ปธน. เป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนนายกฯ สภาอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกฯได้แต่ ปธน.ไม่ได้ ปธน. ยุบสภาได้ ถ้าเลือกมาแล้ว1 ปี ปธน. เสนอให้ลงประชามติได้ ประชาชนเลือก สส. ตามสัดส่วน One man One vote ถ้า < กึ่งหนึ่งให้เอาที่ 1 และ ที่ 2 มาเลือกรอบสอง สภาสูง ให้เลือกจาก สส, สจ, สท มีอำนาจเท่ากับสส ยกเว้น อำนาจการพิจารณางบประมาณ และ ไม่ไว้วางใจ ตัวอย่าง เกาหลีใต้ ไต้หวัน รัสเซีย วิจารณ์ ไทย สว ไม่มีอำนาจเสนอกฎหมาย ญี่ปุ่นใช้แบบ อังกฤษ แต่สภาสูงเลือกตั้งโดยตรง แต่ไม่มีอำนาจเสนอกฎหมาย ฝรั่งเศสต่างกับอเมริกา 1 ปธน สหรัฐฯ ยุบสภาไม่ได้ ฝรั่งเศส ได้ 2 ปธน ฝรั่งเศสอยู่ได้ตลอด หากไม่ขาดคุณสมบัติ ปธน ที่ดี 3 ปธน สหรัฐฯ มีอำนาจบริหารโดยตรงถอดถอน ปธน ได้ ฝรั่งเศส ถอดนายกได้เท่านั้น สภาวะทางตัน Stalemate การเมืองถึงทางตัน ต้องประนีประนอม ทั้ง 3 แบบ มีคนใช้ แบบ ฝรั่งเศสมากที่สุด การมีรัฐธรรมนูญที่ดีอย่างเดียวไม่พอ คนต้องมี ความรู้ความเข้าใจ และมีวัฒนธรรมการเมือง การปฎิรูป 2540 ยังใช้แบบอังกฤษ แต่หัวใจหลักเปลี่ยนไป 1 แยกบริหารจากนิติบัญญัติ 2 ฝ่ายบริหารมาจาก สภา มิได้มาจากการเลือกตั้งโดยตรง 3 อภิปรายไม่ไว้วางใจจากอังกฤษการถอดถอนจากอเมริกา 11

  12. วัฒนธรรมการเมือง(Socialization) X • วัฒนธรรมทางสังคม(Social Culture) วัฒนธรรมทางการเมือง Almond อธิบายวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลว่าเป็นแบบแผนของความเชื่อและทัศนคติ ที่มีต่อการเมือง มีความโน้มเอียง 3 แบบ การรับรู้ เชื่อจะยอมรับ ไม่เชื่อจะปฎิเสธ ความรู้สึก รู้สึกดี จะยอมรับ รู้สึกไม่ดีจะปฎิเสธ ประเมินผล ดีจะทำตาม ไม่ดีจะปฎิเสธ Almond และ Verba เปรียบเทียบวัฒนธรรมการเมืองของกลุ่มคนในสังคม เป็น 3 แบบ แบบคับแคบ Parochail – ไม่รู้ ไม่สนใจ แบบไพร่ฟ้า Subject – รู้ ไม่สนใจ แบบมีส่วนร่วม Participation – รู้ สนใจ กระบวนการหล่อหลอม ทำให้เกิดความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ จนกลายเป็น พฤติกรรม พฤติกรรมที่ทำซ้ำๆจะเป็น วัฒนธรรม วัฒนธรรม เรียนรู้ได้ เกิดจากการเรียนรู้ทางสังคม เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา Pye แบบแผน ทัศนคติความเชื่อ ก่อให้เกิดระเบียบ และกระบวนการทางการเมืองอย่างเดียวกัน Manheim แบบแผนความเชื่อ ร่วมกันเกี่ยวกับเป้าหมาย ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ค่านิยม คือความเชื่อ ที่แสดงออกโดยการกระทำ ทัศนคติ คือความเชื่อที่แสดงออกทางความรู้สึก 12

  13. วัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทยวัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทย สังคมไทย ไม่มีการสร้างพื้นฐานความรู้ความเข้าใจการเมือง มีปัญหา ตั้งแต่ระบบการศึกษา ที่ไม่ให้ความสำคัญ แม้กระทั่งการปฎิรูป ก็เน้นเฉพาะกฎหมายไม่เน้นคน • รูปแบบวัฒนธรรมทางการเมือง • 1 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบ อำนาจนิยมAuthoritative • เกิดภายใต้สังคมเผด็จการ มอบความรับผิดชอบต่อผู้นำนิยมตัวบุคคล และอาวุโสมากกว่าความสามารถ • 2 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบ ประชาธิปไตยDemocracy • - ศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย • - ปกครองโดยประชาชนเพื่อประชาชน • ยอมรับในความคิดเห็นที่แตกต่าง • ไว้วางใจและยอมรับความสามารถบุคคลอื่น • เห็นคุณค่าการมีส่วนร่วม • สนใจติดตามการเมือง ต่อเนื่อง • วิพากย์วิจารณ์การเมืองด้วยความคิดสร้างสรรค์ • ค่านิยมประชาธิปไตยX(E-JU-FREE) คนไทยไม่ได้ปลูกฝังพื้นฐานค่านิยมประชาธิปไตยทำให้ขาดกระบวนการหล่อหลอม • Freedom สิทธิเสรีภาพต้องปลูกฝังให้เด็กรู้สิทธิและเสรีภาพ เคารพในสิทธิของผู้อื่น พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่างไม่ใช่สั่งให้ปฎิบัติตามโดยไม่ฟังเหตุผล • Equalityเสมอภาค โอกาสเท่าเทียมกัน คนรับใช้ ลูกถูกอบรมให้เป็นนาย โตมาจะถือว่าตัวเองเป็นอภิสิทธิชน ทำอะไรต้องเหนือผู้อื่น • 3 Justiceยุติธรรม 13

  14. 4) การพัฒนาทางการเมือง (Political Development) แนวคิดการพัฒนา ของ Pye 10 ข้อ สิ่งต่างๆเหล่านี้พัฒนาได้ถ้าการเมืองก้าวหน้า 1 ใช้การเมืองเป็นรากฐานพัฒนาเศรษฐกิจ 2 ใช้การเมืองพัฒนาสังคมอุตสาหกรรม 3 เปลี่ยนแปลงการเมืองให้ทันสมัย - กระจายงานโดยปรับปรุงโครงสร้างการปกครอง - มีเอกภาพในการปกครองไม่มีชนกลุ่มน้อย -การมีส่วนร่วมของประชาชน 4 เสริมสร้างรัฐชาติ - ปลูกฝังชาตินิยม 5 พัฒนาระบบบริหารและกฎหมาย - ประชาชนเข้มแข็งคอยตรวจสอบ -ระบบราชการพัฒนา -ประชาชนเป็นผู้บัญญัติกฎหมาย 6 การมีส่วนร่วมของประชาชน 7 สร้างสรรค์ระบอบประชาธิปไตย 8 สร้างเสถียรภาพ และปรับปรุงตามกฎ เสถียรภาพ ทางการเมือง เสถียรภาพ ของรัฐบาล เปลี่ยนแปลงตามกฎคือ ประชาชนเชื่อถือยอมรับ 9 ระดมกำลังและอำนาจในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 10 การพัฒนาการเมืองเป็นมิติหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความสัมพันธ์ โต้ตอบซึ่งกัน และกัน การเมือง สังคม เศรษฐกิจ 14

  15. องค์ประกอบการพัฒนา(SU-SE-DE-CA)องค์ประกอบการพัฒนา(SU-SE-DE-CA) 1 Equalityความเสมอภาค- เลิกผูกขาด 2 Capacityความสามารถของระบบการเมือง ในการตรวจสอบปัญหาได้อย่างรวดเร็ว 3 Differentiation & Specialization แบ่งโครงสร้างให้มีความแตกต่างตามความต้องการที่ซับซ้อนของสังคม 4 Secularization political culture เสริมสร้างวัฒนธรรมแบบ มีเหตุผล เกิดจากความรู้ความเข้าใจด้วยเหตุผล 5 Sub systemระบบย่อยอิสระ กระจายอำนาจไปยังท้องถิ่น ความแตกต่างการพัฒนากับความทันสมัยทางการเมือง การพัฒนาX 1 การสร้างความเป็นสถาบันInstitutionalization(2A2C) - การปรับตัว Adaptability - การมีองค์กรที่ซับซ้อน Complexity - ความเป็นกลุ่มก้อนขององค์กร Coherence - ความเป็นอิสระ ของระบบย่อย Autonomy 2 การเปลี่ยนแปลงระบบการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ Political Stability 3 การเสริมสร้างระบบการเมืองให้สนองตองความต้องการของประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ Political Capacity ความทันสมัย(แบ่ง-เสริม-ร่วม) 1 แบ่งโครงสร้างให้มีความแตกต่าง 2 เสริมสร้างอำนาจการปกครองให้มีเอกภาพ 3 การมีส่วนร่วมของประชาชน 15

  16. ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการพัฒนา แนวทางการพัฒนาให้เป็นประชาธิปไตย 1 การพัฒนาโครงสร้างการปกครองให้เป็นประชาธิปไตย 2 เสริมสร้างวัฒนธรรมให้ประชาชนมีส่วนร่วม -ผ่านกระบวนการศึกษาในระบบทั้งตำราและทฤษฎี -ผ่านกระบวนการศึกษานอกระบบเน้นความรู้ความเข้าใจ ให้เกิดศรัทธาและเห็นคุณค่า -จัดตั้งคณะกรรมการรณรงค์เผยแพร่เพื่อเปิดให้ประชาชน แสดงความคิดเห็นผ่านทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ -ผ่านโครงการพัฒนาชนบท การพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญฉบับ สสร. มี 10 ประเด็น 1 การศึกษาให้เปล่า 12 ปี 2 ความเป็นอิสระของสื่อ กทช. กสช. 3 สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยากรท้องถิ่น 4 การกระจายอำนาจการปกครองท้องถิ่น 5 การถอดถอนนักการเมือง 6 กกต. 7 ปปช. 8 ศาลปกครอง 9 สตง. 10 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทางราชการ การกระจายอำนาจ Decentralization -กระจายอำนาจทางการเมือง -เลือกรัฐบาลที่ดีมากกว่ารัฐบาลของเรา 16

  17. การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation)XXX • ลักษณะการมีส่วนร่วม • (กำหนด-ผลักดัน-วิจารณ์-เคลื่อนไหว) • - กำหนดตัวผู้ปกครอง เลือกตั้ง ถอดถอน • ผลักดันการตัดสินใจ • วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล • ชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง • ลำดับขั้น ของ Lester Milbrath • มีฐานคติ 2 ประการ • - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง • - ความเกี่ยวพันทางการเมือง • แบ่งเป็น 14 ขั้น • สนใจ-ใช้สิทธิ-คิดแล้วคุย-ลุยสนับสนุน • ติดกระดุม-รุมติดต่อ-ล่อเงินบริจาค • ลากไปประชุม-สุมด้วยใบปลิว-ตรงลิ่วไปสมัครเข้าพรรคเป็นแกนนำ-จำใจระดมทุน • หนุนตัวเข้าแข่ง-แย่งเก้าอี้ ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ,การพัฒนา,การมีส่วนร่วมและเสถียรภาพทางการเมือง Gap Hypothesis การเคลื่อนย้ายทางสังคม= คับข้องใจทางสังคม การพัฒนาเศรษฐกิจภูมิภาค หมายถึง ย้ายแล้วไม่มีงานเกิดความคับข้องใจ ความคับข้องใจทางสังคม= การมีส่วนร่วม การเลื่อนขั้นทางสังคม หมายถึง โอกาสเลื่อนขั้นทางสังคมน้อย คนคับข้องใจมาก คนจะเรียกร้อง การมีส่วนร่วม=> การเมืองไร้เสถียรภาพ การพัฒนาสถาบันการเมือง หมายถึง คนเรียกร้อง แล้วตอบสนองไม่ได้ การเมืองจะไม่มีเสถียรภาพ 17

More Related