1 / 28

ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม

ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม. “ การ พ่นและการใช้สารเคมี ในการควบคุมไข้ มาลาเรีย “ ด้วยความยินดียิ่ง. กีฏวิทยามาลาเรีย (Malaria Entomology). ยุงเชื่อว่ามีวิวัฒนาการมานานกว่า 170 ล้านปี ในระหว่างยุคของไดโนเสาร์ ( 206-135 ล้านปี) มีขนาดใหญ่กว่ายุงในปัจจุบัน 3 เท่า. วิ.

kanan
Télécharger la présentation

ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม “ การพ่นและการใช้สารเคมี ในการควบคุมไข้มาลาเรีย “ ด้วยความยินดียิ่ง

  2. กีฏวิทยามาลาเรีย(Malaria Entomology)

  3. ยุงเชื่อว่ามีวิวัฒนาการมานานกว่า 170 ล้านปี ในระหว่างยุคของไดโนเสาร์ (206-135 ล้านปี) มีขนาดใหญ่กว่ายุงในปัจจุบัน 3 เท่า

  4. วิ วัฒนาการของยุงส่งผลให้ มียุงมากกว่า 3,000 ชนิด และแต่ละปีมีการค้นพบเพิ่มขึ้นอีกราวๆ 20 สายพันธุ์ ยุงมีขนาดเล็ก ส่วนใหญ่เล็กกว่า 15 มม.น้ำหนักยุงอยู่ระหว่าง 2.0-2.5 มก ยุงบินได้เร็วประมาณ 1.5-2.5 กม/ชม

  5. ยุง เคลื่อนตัวได้ว่องไว ด้วยปีกที่สามารถกระพือได้เร็วถึง 600 ครั้งต่อวินาที มากกว่านก humming bird ถึง 10 เท่า นี่คือ ต้นเหตุของเสียงหึ่งๆ ที่เรามักได้ยินเมื่อยุงบินผ่านเราไป

  6. ยุง • ทุกตัวต้องการน้ำหวานจากพืช เพื่อการ • ยังชีพ แต่ยุงเพศเมียเท่านั้นที่ กระหาย • เลือด ด้วยเหตุผลในการขยาย พันธุ์ เพราะเลือดคือแหล่งโปรตีน สำหรับการเจริญเติบโตของไข่

  7. ยุงตัวเมียจะพยายามดื่มเลือด ให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ ระหว่างดื่มกิน มันจะขับน้ำที่ไม่ต้องการออกมา ด้วย การปล่อยหยดน้ำเล็กๆ เพื่อสร้างพื้นที่ให้โปรตีนเพิ่มมากขึ้น

  8. เป็นปัจจัยกำหนดบทบาทของยุงพาหะเป็นปัจจัยกำหนดบทบาทของยุงพาหะ --Anthropophagic ชอบเลือดคนละสัตว์ --Zoophilic ชอบเลือดสัตว์ --Ornithophilic ชอบเลือดคน การเลือกเหยื่อ ( host selection )

  9. Culexpipiensในเขตอบอุ่นเหนือเป็นพาหะนำ West Nile virus และ Coquillettidiametallicaในทวีปอัฟริกาชอบกินเลือดนก Cx. tritaeniorhynchusพาหะนำไข้สมองอักเสบชอบกินเลือดหมูและวัวควาย Aedesaegyptiยุงลายบ้านชอบกินเลือดคน

  10. ปลาตีน mudskippers แหล่งอาหารยุง

  11. บินแบบสุ่ม (randomflight) ขึ้นอยู่กับความ เร็ว และทิศทางของลม • บินทวนลม (orientedupwindflight) ขึ้นอยู่กับสารล่อที่ขับออกมาจากเหยื่อ

  12. ยุงไม่สามารถตรวจหาเลือดภายในตัวเหยื่อในระยะไกลได้ ดังนั้นยุงจึงวิวัฒนาการความ สามารถในการตามหาเหยื่อจาก สารที่ขับออกมาจากเหยื่อที่มีเลือด ไคโรโมน kairomone

  13. ลมหายใจออกของเราคาร์บอนไดออกไซด์ลมหายใจออกของเราคาร์บอนไดออกไซด์ • ความเข้มข้นของ CO2ที่เพิ่มขึ้นเพียง 0.01% กระตุ้นต่อมตรวจจับ CO2บนหนวดยุง และถ้าเพิ่มถึง 0.03% จะมีผลต่อพฤติกรรมของยุง โดยเฉพาะการเลือกเหยื่อ (host preference) • สารเคมีที่ขับออกมากับเหงื่อเช่น lactic acid, acetone, octenolเสริมฤทธิ์ของ CO2

  14. ยุงมองหาเหยื่อด้วยระบบตรวจจับอันเยี่ยมยอดประกอบด้วยยุงมองหาเหยื่อด้วยระบบตรวจจับอันเยี่ยมยอดประกอบด้วย ดวงตา (eye)ขนาดใหญ่ที่มีเลนส์ขนาดจิ๋วนับร้อย งวง(palpi)เป็นเซ็นเซอร์ระยะสั้นคล้ายๆกับจมูกและ เสาอากาศ(antennae)เป็นเซ็นเซอร์ระยะไกลสามารถ ตรวจจับความร้อน, CO2รวมทั้ง lactic acidที่ขับมาจาก ผิวหนังของเราและสัตว์อื่นๆ

  15. ระยะตรวจจับ 25-35 เมตร

  16. เจิดสุดา !!! ถอนปากออกเร็ว .... เธอดูดโดนเส้นเลือดใหญ่เข้าแล้ว ....

  17. แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงก้นปล่องแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงก้นปล่อง An.dirus An. aconitus An. sundaicus • An. sundic An. maculatus and An. Minimus

  18. ไข้มาลาเรีย Malaria fever

  19. วงจรชีวิตไข้มาลาเรีย

  20. เมื่อยุงก้นปล่องตัวเมียกัดคนที่มีเชื้อมาลาเรียระยะแกมีโตซัยท์ในกระแสเลือด เชื้อเหล่านี้จะผสมพันธุ์กันเป็นไซโกต (zygote) เจริญเป็นเชื้อมาลาเรียระยะโอโอซิสต์ฝังตัวที่กระเพาะยุง แล้วแบ่งตัวเป็นเชื้อมาลาเรียระยะสปอโรซอยต์ไปยังต่อมน้ำลาย เพื่อรอการกัดของยุงอีกครั้ง การเจริญของเชื้อมาลาเรียในยุง

  21. เมื่อยุงก้นปล่องตัวเมียซึ่งมีเชื้อมาลาเรียกัดคน ยุงจะปล่อยเชื้อมาลาเรียระยะสปอโรซอยต์ จากต่อมน้ำลายเข้าสู่กระแสเลือดของคน จากนั้นเชื้อจะเดินทางไปที่ตับ และเกิดการแบ่งเซลแบบไม่อาศัยเพศ ทำให้ได้เชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์ (merozoite) นับพันตัว ต่อจากนั้นเซลตับจะโตและแตกออก ปล่อยเชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์ออกมาในกระแสเลือด • เข้าเม็ดเลือดแดง และเจริญเป็นเชื้อมาลาเรียระยะโทรโฟซอยต์ (trophozoite) และแบ่งตัวอีกครั้งเป็นเชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์6-30 ตัว เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก เชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์จะเดินทางไปยังเม็ดเลือดแดงอื่น แล้วเจริญแบ่งตัววนเวียนอยู่เช่นนี้ เชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์บางตัว จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเชื้อมาลาเรียระยะมีเพศ หรือเรียกว่าแกมีโตซัยท์ (gametocyte) โดยมีทั้งเพศผู้ และเพศเมีย

  22. คำถาม: สมชาย มีเชื้อระยะแกมีโตซัยท์(gametocyte) ในร่างกาย เข้ามาพักในหมู่บ้าน ทุ่งหมาเมิน ในวันที่ 19 ก.ค.55 ในหมู่บ้าน ทุ่งหมาเมิน มียุงก้นปล่องที่เป็นพาหะ อยู่ในหมู่บ้านนี้ด้วย เหตุการณ์นี้คาดว่าต้องมีผู้ป่วยเกิดขึ้น เป็นรายที่ 2 ท่านคิดว่าต้องออกเจาะโลหิต ค้นหาผู้ป่วย ในช่วงใด

More Related