1 / 38

การให้บริการสารสนเทศ เศรษฐกิจการเกษตร

การให้บริการสารสนเทศ เศรษฐกิจการเกษตร. ภายใต้เว็บไซต์ www.oae.go.th thaifarmer.oae.go.th. www.oae.go.th สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร ประกอบด้วย การผลิตการตลาด ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตร นโยบายและแผนด้านการเกษตร เอกสารเผยแพร่ อื่น ๆ. www.oae.go.th

kara
Télécharger la présentation

การให้บริการสารสนเทศ เศรษฐกิจการเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การให้บริการสารสนเทศ เศรษฐกิจการเกษตร ภายใต้เว็บไซต์ www.oae.go.th thaifarmer.oae.go.th

  2. www.oae.go.th • สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร ประกอบด้วย • การผลิตการตลาด • ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร • ภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตร • นโยบายและแผนด้านการเกษตร • เอกสารเผยแพร่ • อื่น ๆ

  3. www.oae.go.th • รายละเอียด • สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร • ที่สามารถสืบค้นได้

  4. www.oae.go.th • •ราคาสินค้าเกษตรกรรม • ราคารายวัน ณ ตลาดกลางและตลาดที่สำคัญ • ราคาสินค้า ณ ตลาดไท • ราคาสัตว์น้ำสะพานปลา กทม. • ราคาตลาดกลางสี่มุมเมือง • ราคาที่เกษตรกรขายได้(รายสัปดาห์) • ราคารายเดือน

  5. www.oae.go.th • ปริมาณ/มูลค่าการนำเข้า-ส่งออกสินค้าเกษตรกรรม • การพยากรณ์ข้อมูลการเกษตร • สถิติการเกษตรของประเทศไทย มูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ดัชนีราคา/มูลค่า/ปริมาณผลผลิต เนื้อที่และผลผลิตพืชที่สำคัญ ปริมาณการผลิตปศุสัตว์ที่สำคัญ

  6. www.oae.go.th ต้นทุนการผลิตและปัจจัยการผลิต การประมง การป่าไม้ การค้ากับต่างประเทศ การใช้ที่ดินและลักษณะการถือครองที่ดิน ประชากรและรายได้

  7. www.oae.go.th • ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร แนวโน้มและภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของ ประเทศไทย • รายงานสถานการณ์สินค้าเกษตร (ทุกสัปดาห์ , ทุกเดือน)

  8. www.oae.go.th • ภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตร เปรียบเทียบภาวะเศรษฐกิจและสังคม ครัวเรือนเกษตร ผลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม ครัวเรือนเกษตร การถือครองและการใช้ทรัพยากรที่ดินของ ครัวเรือนเกษตร

  9. www.oae.go.th • นโยบายและแผนด้านการเกษตร มติคณะกรรมการด้านการเกษตร นโยบายและแผนด้านการเกษตร การติดตามและประเมินผลโครงการ

  10. www.oae.go.th • ข่าวสารเศรษฐกิจการเกษตร ปฏิทินข่าว ข่าวตัดด้านการเกษตร ข้อมูลส่วนภูมิภาค • ปัญหาถามตอบ

  11. www.oae.go.th • • เอกสารเผยแพร่ • หนังสือสถิติการเกษตรของประเทศไทย • วารสารเศรษฐกิจการเกษตร (รายเดือน) • ข่าวการผลิตการตลาด (รายสัปดาห์) • รายชื่อเอกสารเผยแพร่

  12. thaifarmer.oae.go.th เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารการเกษตรและให้ บริการเผยแพร่แก่เกษตรกร นักเรียน และ ประชาชนทั่วไป

  13. thaifarmer.oae.go.th เป้าหมาย • ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตรประจำตำบล • กลุ่มสหกรณ์ • องค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) • โรงเรียน

  14. thaifarmer.oae.go.th ข้อมูลข่าวสาร ประกอบด้วย • ข้อมูลพื้นฐานการเกษตร กฎ/ระเบียบ ที่เกษตรกรควรรู้ ข้อมูลผลผลิตการเกษตร ข้อมูลราคา นโยบายรัฐบาล

  15. thaifarmer.oae.go.th • เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีพืช เทคโนโลยีสัตว์ เทคโนโลยีชีวภาพ • ข่าวเกษตรกร ข่าวเตือนภัย ข่าวพยากรณ์อากาศ

  16. thaifarmer.oae.go.th • ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญทางการเกษตรสาขาพืช/สัตว์ • เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ด้านพืช/สัตว์/ทั่วไป • ถาม-ตอบ ปัญหาการเกษตร

  17. การพัฒนาระบบการจัดเก็บการพัฒนาระบบการจัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลการเกษตร โดย กรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมกับ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  18. ความเป็นมา • 1. ปัญหาด้านข้อมูลการเกษตร • ข้อมูลไม่ทันต่อความต้องการ • ข้อมูลไม่สอดคล้องกัน • การจัดเก็บข้อมูลซ้ำซ้อน • 2. หน่วยงานหลัก ได้แก่ กรมส่งเสริมการเกษตร และ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรต้องมีการปรับปรุงระบบการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลการเกษตร

  19. วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงระบบการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล การเกษตรของทั้งสองหน่วยงาน ให้ข้อมูลเป็นเอกภาพ เอื้ออำนวยสนับสนุนซึ่งกันและกัน สามารถให้บริการกับสาธารณะได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

  20. การดำเนินงาน 1. สัมมนา/ประชุมปรึกษาหารือแนวทางการพัฒนา ระบบการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลการเกษตร 2. ออกปฏิบัติงานทดสอบระเบียบวิธีสำรวจในพื้นที่ ร่วมกัน 3. ประชุมหารือเรื่องคำนิยามบางส่วนที่ยังไม่ตรงกัน 4. จัดทำระบบโปรแกรมประมวลผลข้อมูล 5. กำหนดปริมาณงานและแผนปฏิบัติร่วมกัน 6. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ทั้ง 2 หน่วยงาน

  21. ระบบงาน • 1. แบ่งสินค้าเกษตร เป็น 3 กลุ่ม (120 ชนิดสินค้า) • พืชเศรษฐกิจสำคัญระดับประเทศ • พืชสำคัญระดับจังหวัดหรือท้องถิ่น • พืชสำคัญแต่มีผลผลิตออกตลอดปี • 2. ช่วงระยะเวลาจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม จะสอดคล้อง • กับช่วงฤดูกาลผลิต และความจำเป็น

  22. 3. ข้อมูลที่จัดเก็บ • ข้อมูลหลัก เช่น เนื้อที่ปลูก เนื้อที่เสียหาย ผลผลิต • จัดเก็บทุกชนิดสินค้า (120 สินค้า) • จัดเก็บโดยเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล • ข้อมูลรายละเอียด เช่น พันธุ์ อายุ ชลประทาน • จัดเก็บประมาณ 30 สินค้า ตามที่ สศก.ปฏิบัติอยู่ • จัดเก็บโดยเจ้าหน้าที่เขตเกษตรเศรษฐกิจ

  23. 4. การประมวลผล • ข้อมูลหลัก • (1) ระดับอำเภอรายงานสู่จังหวัดเป็นยอดรวมจังหวัด • จังหวัดรายงานสู่ส่วนกลางของ กสก. • (2) ส่วนกลางโดย กสก. และ สศก. วิเคราะห์ร่วมกัน • ข้อมูลรายละเอียด • ดำเนินงานตามระบบเดิมที่ สศก. ปฏิบัติอยู่

  24. การกำหนดเขตเกษตร เศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตร

  25. 1 14 อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลำภู เลย ชัยนาท สุพรรณบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง 2 15 นครพนม มุกดาหาร สกลนคร ปทุมธานี นนทบุรี อยุธยา กรุงเทพฯ 3 อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจริญ 16 ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบฯ 4 ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ 17 สมุทรสาคร นครปฐม สมุทรสงคราม 5 สุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ 18 ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก 6 นครราชสีมา ชัยภูมิ 19 ชลบุรี ระยอง สมุทรปราการ 7 ลพบุรี สระบุรี เพชรบูรณ์ 20 8 จันทบุรี ตราด สระแก้ว นครสวรรค์ อุทัยธานี 21 9 ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง 10 22 พิษณุโลก พิจิตร สงขลา พัทลุง นครศรีธรรมราช สตูล 11 แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ 23 ภูเก็ต พังงา ตรัง กระบี่ 12 เชียงราย พะเยา ลำปาง 24 13 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน

  26. เขตเกษตรเศรษฐกิจ หมายถึง เขตการผลิตทางการเกษตร ซึ่งรวมทั้ง การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกป่า ที่มีกำหนดขึ้น ให้เหมาะสมกับภาวะตลาดและเศรษฐกิจการเกษตรของประเทศ โดยคำนึงถึงสภาพที่คล้ายคลึงกันของปัจจัยหลักเช่น ดิน ฟ้า อากาศ แหล่งน้ำ พื้นที่ปลูกสัตว์เลี้ยงประเภทของเกษตรกรรม และรายได้หลักของเกษตรกร

  27. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้การผลิตเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2. เพื่อให้เกษตรกรทราบถึงศักยภาพของทรัพยากรการผลิตของตนเองได้ชัดเจน 3. เพื่อใช้เป็นกรอบพื้นที่ในการจัดทำแผน พัฒนาในแต่ละพืช

  28. หลักการโดยรวม - ดำเนินการตาม พรบ.เศรษฐกิจการเกษตร พ.ศ.2522 - เกษตรกรสามารถตัดสินใจเลือกการผลิตได้ ด้วยตนเองอย่างอิสระ (ไม่มีการบังคับ) - รัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนมาตรการ

  29. - เกษตรกร ทราบถึงศักยภาพของพื้นที่ ที่ใช้ในการผลิตได้อย่างชัดเจน ลดต้นทุนการผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้น ลดความเสี่ยง และได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐตรงความต้องการ - ผู้ประกอบการมีความมั่นใจถึงปริมาณของการผลิตที่สม่ำเสมอและวางแผนด้านการตลาดชัดเจน - ผู้บริโภค ได้รับประโยชน์จากการผลิตทางด้านการเกษตรที่มีคุณภาพ ความแน่นอนในเรื่องราคา และระยะเวลาของสินค้าออก สู่ตลาด - รัฐบาล ใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผน ส่งเสริม สนับสนุนการผลิต กำหนดมาตรการ และสามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ เพิ่มขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  30. วิธีการกำหนดเขตฯโดยรวมวิธีการกำหนดเขตฯโดยรวม 1.กำหนดเป้าหมายสินค้าเกษตรจากแผนฯ 9 ปี 2549 2.จัดสรรพื้นที่ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย โดยใช้ GIS 3.ตรวจสอบผลลัพธ์จากการกำหนดเขตเกษตร เศรษฐกิจ

  31. เป้าหมายการผลิตตามยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป้าหมายการผลิตตามยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร สินค้า สินค้า เป้าหมาย เป้าหมาย (ปี 2549) (ปี 2549) 21 ล้านตัน ข้าวนาปี ทุเรียน 995,000ตัน 4.5 ล้านตัน 427,000ตัน ลำไย ข้าวนาปรัง ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ 5.2ล้านตัน 85,000 ตัน กาแฟ 3.9 ล้านตัน 20.8ล้านตัน ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง สับปะรด โรงงาน 2.2 ล้านตัน 34,500 ตัน กล้วยไม้ ถั่วเหลือง 375,000 ตัน 312,000 ตัน กุ้งกุลาดำ 61ล้านตัน อ้อยโรงงาน 2.3ล้านตัน ยางพารา

  32. 1. การแปลงข้อมูลจาก แผนที่เป็นตัวเลข 2. การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการซ้อนทับ 3.การพิมพ์ผลลัพธ์ 1. ลุ่มน้ำหลัก 010101111 25 ลุ่มน้ำหลัก 2. ชุดดิน 312 ชุดดิน 4 ระดับ 110000001 3. ปริมาณน้ำฝน 111000111 ปริมาณน้ำฝน 4 ระดับ 4. เขตชลประทาน เขตชลประทาน 2 ระดับ 101011111 5. เขตป่าไม้ เส้นชั้นความสูง 110011111 6. การใช้ที่ดิน 010100001 การใช้ที่ดินในปัจจุบัน 7. เส้นชั้นความสูง ระดับความเหมาะสม 001101100 เขตป่าไม้ตามกฏหมาย 1. เหมาะสมที่สุด 8. เขตปกครอง 2. เหมาะสมปานกลาง 011101111 เขตการปกครอง 3. เหมาะสมเล็กน้อย 9. ทางคมนาคม 11111100 4. ไม่เหมาะสม เส้นทางคมนาคม ขั้นตอนการดำเนินงานทางกายภาพ

  33. แผนที่แสดงความเหมาะสมแผนที่แสดงความเหมาะสม แผนที่ถั่วเหลือง แผนที่อ้อยโรงงาน สับปะรด แผนที่ยางพารา ของพื้นที่สำหรับการปลูกข้าวนาปี ข้าวนาปรัง แผนที่ทุเรียน ลำไย กาแฟ ตัวแปรที่ใช้กำหนด น้ำหนัก คะแนน และหลักเกณฑ์ แผนที่ปาล์มน้ำมัน 1. พื้นที่เหมาะสมทางกายภาพ 2. พื้นที่ปลูกในปัจจุบัน แผนที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3. ผลผลิตต่อไร่ แผนที่มันสำปะหลัง 4. ระยะทางจากโรงงาน คะแนน 1.50 - 2.00 ศักยภาพระดับ 1 คะแนน 1.00 - 1.49 ศักยภาพระดับ 2 ข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ -ปริมาณความต้องการของตลาด -ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ -ต้นทุนการผลิต -ราคาที่เกษตรกรได้รับ -ผลตอบแทนสุทธิ -ค่าขนส่งต่อระยะทาง/ที่ตั้งโรงงาน ฯลฯ แผนที่การกำหนด เขตเกษตรเศรษฐกิจ ของแต่ละสินค้า

  34. ผลลัพธ์จากการกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจผลลัพธ์จากการกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ จำนวน พื้นที่ ชนิดสินค้า ตำบล จังหวัด อำเภอ (ปี2549) ข้าวนาปี 676 71 5,848 57 ล้านไร่ ข้าวนาปรัง 6 ล้านไร่ 21 1,179 130 1,187 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 32 169 7.5 ล้านไร่ มันสำปะหลัง 1,401 6.7 ล้านไร่ 33 188 129 26 8 0.5 ล้านไร่ สับปะรดโรงงาน 903 ถั่วเหลือง 143 28 1.5 ล้านไร่

  35. ผลลัพธ์จากการกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจผลลัพธ์จากการกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ จำนวน พื้นที่ ชนิดสินค้า ตำบล จังหวัด อำเภอ (ปี2549) 224 1,562 34 ยางพารา 12 ล้านไร่ 42 12 298 ทุเรียน 0.86 ล้านไร่ 212 ลำไย 6 28 0.65 ล้านไร่ 8 กาแฟ 0.40 ล้านไร่ 26 156 2 ล้านไร่ 74 15 383 ปาล์มน้ำมัน 1,397 อ้อยโรงงาน 186 35 6 ล้านไร่

  36. การตรวจสอบผลลัพธ์การกำหนดเขตฯการตรวจสอบผลลัพธ์การกำหนดเขตฯ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร

More Related