1 / 8

หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2

หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2. รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น. ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์. การแบ่งยุคการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ ตามความเห็นของ ศาสตราจาร ย์ Charles C. Fries. (1962). Linguistics and Reading, pp. 35 – 92. 1. ยุคที่ ๑ ระหว่าง ค.ศ. 1820 – 1875 ( พ.ศ. 2363-2418)

karyn-glenn
Télécharger la présentation

หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อการบรรยาย ENL 3701Week #2 รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น

  2. ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ • การแบ่งยุคการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ ตามความเห็นของ ศาสตราจารย์ Charles C. Fries. (1962). Linguistics and Reading, pp. 35 – 92. • 1. ยุคที่ ๑ ระหว่าง ค.ศ. 1820 – 1875 (พ.ศ. 2363-2418) • 2. ยุคที่ ๒ ระหว่าง ค.ศ. 1875 – 1925 (พ.ศ. 2418 –2468) • 3. ยุคที่ ๓ ระหว่าง ค.ศ. 1925 – 1950 (พ.ศ. 2468 –2493) • 4. ยุคที ๔ ระหว่าง ค.ศ. 1950 – 1960 (พ.ศ.2493 - 2506) จนถึงปัจจุบัน (ค.ศ.2013 , พ.ศ.2556)

  3. ๑.ยุคเริ่มต้นของการศึกษาภาษาตามแนวใหม่๑.ยุคเริ่มต้นของการศึกษาภาษาตามแนวใหม่ • ข้อสรุปของการศึกษาในยุคแรก เน้นการเปลี่ยนแปลงของภาษา • ภาษาไม่มีลักษณะหยุดนิ่งหรือตายตัว • ภาษามีการเปลี่ยนแปลงที่แน่นอนและเป็นระบบ • การเปลี่ยนแปลงมาจากการใช้ภาษาของเจ้าของภาษาที่เป็นผู้พูดและผู้เขียน • ประเด็นที่ต้องพิจารณา...อะไรคือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงการศึกษาภาษา และมีหลักฐานอ้างอิงอย่างไรบ้าง

  4. ๒.ยุคที่สองของการศึกษาภาษา๒.ยุคที่สองของการศึกษาภาษา • ข้อสรุปของการพัฒนาการศึกษาภาษายุคที่สองเน้นด้านเสียงของภาษา ประเด็นที่ต้องพิจารณา • ๑. ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงต้องศึกษาด้านเสียงของภาษา • ๒. มีเครื่องมืออะไรที่ใช้ในควบคุมการศึกษาด้านเสียงของภาษา • ๓. เพราะเหตุใดภาษาต่างๆของมนุษย์จึงมีเสียงแตกต่างกัน และใครเป็นผู้กำหนดความถูกต้องและมาตรฐานของเสียงในแต่ละภาษา

  5. ๓.ยุคที่สามของการศึกษาภาษา๓.ยุคที่สามของการศึกษาภาษา • ข้อสรุปการศึกษาภาษาในยุคที่สามเน้นด้านโครงสร้างของภาษา ประเด็นที่ต้องพิจารณา • ๑. เพราะเหตุใดนักภาษาศาสตร์จึงสนใจศึกษาด้านโครงสร้างของภาษา • ๒. นักภาษาศาสตร์ได้ข้อมูลการศึกษาจากแหล่งใด • ๓. การศึกษาด้านโครงสร้างเปิดเผยข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง และใครเป็นผู้นำในการศึกษาภาษาในยุคนี้

  6. ๔.ยุคที่สี่เป็นยุคใหม่ของการศึกษาภาษา๔.ยุคที่สี่เป็นยุคใหม่ของการศึกษาภาษา • ข้อสรุปของการศึกษาภาษาในยุคนี้เน้นด้านการนำเอาหลักภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ประเด็นที่ควรพิจารณา • ๑. การศึกษาภาษาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากยุคที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง • ๒. ใครเป็นผู้บุกเบิกการนำทฤษฎีด้านภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ • ๓. ความรู้ด้านภาษาศาสตร์ได้ขยายตัวออกไปสู่ศาสตร์อื่นๆอย่างไรบ้าง • ๔. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์ทำให้เกิดผลดีด้านการศึกษาภาษาหรือไม่ และเป็นอย่างไร

  7. ๒. ขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ • ภาษาศาสตร์มีขอบข่ายต่างกัน ๓ คู่ลักษณะ คือ • ๑.ภาษาศาสตร์แบบปัจจุบัน กับ ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Syncronic & Diacronic) • ๒. ภาษาศาสตร์ทฤษฎีและภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Theoretical & Applied Linguistics) • ๓. ภาษาศาสตร์อนุภาคและภาษาศาสตร์มหภาค (Micro & Macro Linguistics)

  8. ประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการศึกษาภาษาประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการศึกษาภาษา • ๑. พัฒนาการของการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ทำให้เราได้เรียนรู้อะไรบ้าง • ๒. นักภาษาศาสตร์ทางยุโรปและอเมริกา ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการศึกษาภาษาในด้านใดบ้าง • ๓. ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีกับภาษาศาสตร์ประยุกต์มีข้อแตกต่างหรือเหมือนกันหรือไม่และอย่างไร • ๔. ปัจจุบันวิชาภาษาศาสตร์ได้มีบทบาทในการดำเนินชีวิตของคนในยุคใหม่ในด้านใดบ้าง

More Related