1 / 49

โดย

การบริหารจัดการสารสนเทศ (Information Management). โดย. ผศ . ดร . จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. สังคมมนุษย์ แบ่งออกเป็นยุคต่างๆ ดังนี้. ยุคสังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) ยุคสังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) ยุคสังคมสารสนเทศ (Information Society) ยุคสังคมความรู้ (Knowledge Society).

kaspar
Télécharger la présentation

โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการสารสนเทศ(Information Management) โดย ผศ.ดร.จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ

  2. สังคมมนุษย์แบ่งออกเป็นยุคต่างๆ ดังนี้ • ยุคสังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) • ยุคสังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) • ยุคสังคมสารสนเทศ (Information Society) • ยุคสังคมความรู้(Knowledge Society)

  3. ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล ผ่านการวิเคราะห์หรือสรุปให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์

  4. คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีคุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี 1. มีความถูกต้องเชื่อถือได้(Accuracy) 2. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) 3. ความสมบูรณ์ (Completeness) 4. ทันต่อการใช้งานหรือทันเวลา(Timeliness) 5. ความกะทัดรัด(Conciseness) 6. ตรงประเด็นหรือตรงตามความต้องการ (Relevance)

  5. ได้แก่ ประธานกรรมการ ผู้จัดการกรรมการบริหาร ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายต่างๆ ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับกลาง ได้แก่ หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าแผนก ผู้บริหารระดับต้นหรือระดับปฏิบัติการ ผู้บริหารระดับต้นหรือระดับปฏิบัติการ ระดับการบริหารงานในองค์กร

  6. 4. สารสนเทศสำหรับ การวางแผนกลยุทธ์ 3.สารสนเทศสำหรับวางแผนยุทธวิธี 2. สารสนเทศสำหรับวางแผนการปฏิบัติงาน 1. สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลรายการ การจัดโครงสร้างของระบบสารสนเทศ

  7. โครงสร้างของระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงด้วยฐานข้อมูลโครงสร้างของระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงด้วยฐานข้อมูล การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) การวางแผนด้านยุทธวิธี (Tactical Planning) การวางแผนด้านการปฏิบัติงาน (Operational Planning) การประมวลผลรายการ (Transaction Processing) ฝ่ายบัญชี ฝ่ายบุคคล ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย ฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูล

  8.    ฝ่ายขาย ฝ่ายStock ฝ่ายบัญชี ฝ่ายผลิต General Supply

  9.    ฐานข้อมูล ฝ่ายขาย ฝ่ายStock ฝ่ายบัญชี ฝ่ายผลิต Server General Supply ฝ่ายขาย ID name P/U… ฝ่ายผลิต ID C/U QTY … ฝ่ายStock ID Name TQTY .. …….. …. ….. ……. Database (ฐานข้อมูล)

  10. ประโยชน์ของการทำฐานข้อมูลประโยชน์ของการทำฐานข้อมูล • ช่วยลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล • เป็นศูนย์กลางของข้อมูลเพื่อใช้ข้อมูลร่วมกัน • ข้อมูลถูกต้องตรงกันข้อมูลเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะมาจากฐานข้อมูลเดียวกัน • ข้อมูลมีความเป็นอิสระในการจัดเก็บและมีความคล่องตัวในการเรียกใช้งาน • การปรับปรุงแก้ไขข้อมูลทำได้ง่าย รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ • มีระบบความปลอดภัยของข้อมูลเพราะการนำข้อมูลมาเก็บรวมไว้ในที่เดียวกันสามารถกำหนดสิทธิ์ในการใช้ข้อมูลได้สะดวกขึ้น

  11. Level 4 การวางแผนกลยุทธ์ Level 3 การวางแผนยุทธวิธี Level 2 การวางแผนด้าน การปฏิบัติงาน Level 1 การประมวลผลรายการ การไหลเวียนของสารสนเทศ การไหลเวียนของสารสนเทศ (Information Flow)

  12. ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้และปัญญา

  13. การเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปสู่สารสนเทศ ความรู้และปัญญา ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา

  14. ความรู้แบ่งอออกเป็น 2 รูปแบบ 1. Tacit Knowledge 2. Explicit Knowledge

  15. การจัดการความรู้ • การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ (efficient) และประสิทธิผล (effective) • การจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management) คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่อย่างกระจัดกระจาย อยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  16. เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน 1. เพิ่มปริมาณการขาย 2. การลดต้นทุนการผลิต 3. การเพิ่มผลผลิต 4. การเพิ่มคุณภาพของสินค้าและบริการ 5. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน

  17. ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน • การสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศเสียค่าใช้จ่ายสูง • และต้องใช้เวลา • การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจะต้องเกิดการ • เปลี่ยนแปลง • 3. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเสี่ยง

  18. ความมีจริยธรรมในการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความมีจริยธรรมในการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • 1. ความเป็นส่วนตัว (Privacy) • ความถูกต้อง (Accuracy) • 3. ความเป็นเจ้าของ (Property) • 4. สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล (Access Data)

  19. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในงานด้านต่างๆ

  20. การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce : ElectronicCommerce) คือ ธุรกิจการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ การใช้ทีวีในการโฆษณาสินค้า การขายตรงผ่านทางเคเบิลทีวี การใช้แฟกซ์ในการส่งข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าและการขายผ่านทางอินเทอร์เน็ต

  21. ข้อควรคำนึงในการทำธุรกิจแบบ e-Commerce • วิธีดำเนินงานและเงินลงทุน • ลักษณะของสินค้าเหมาะกับการทำธุรกิจแบบ e-Commerce • กลุ่มเป้าหมายที่เป็นลูกค้า • วิธีการส่งสินค้าและวิธีการชำระเงิน • ระบบเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล

  22. ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจแบบ e-Commerce กับธุรกิจโดยทั่วไป • ไม่ต้องมีอาคาร ร้านค้า ห้องแสดงสินค้า • ติดต่อกับตลาดต่างประเทศได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว • ผู้ซื้อไม่ต้องเดินทางไปซื้อสินค้า • ไม่ต้องใช้พนักงานขายสินค้า • เปิดร้านค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง • ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการพิมพ์โฆษณาสินค้า • ได้สินค้าในราคาถูก

  23. การพาณิชย์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (m-Commerce : Mobile Commerce) คือ การดำเนินธุรกรรมเกี่ยวกับการซื้อ- ขายสินค้าและบริการผ่านอุปกรณ์มือถือแบบไร้สายและคอมพิวเตอร์พีดีเอ (PDA) โดยสามารถส่งข้อมูลได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียงเพลง เสียงพูด เสียงดนตรีและภาพวิดีโอ สามารถเชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตและเข้าสู่ระบบได้ด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ต่อเชื่อมส่วนตัว (personal digital assistants) วิทยุติดตามตัว (pager) นาฬิกาข้อมือและอุปกรณ์อื่นๆ

  24. การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI : ElectronicDataInterchange) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้นแทนการส่งเอกสารโดยคนนำสารหรือส่งทางไปรษณีย์ ประโยชน์ที่ได้จากการติดตั้งระบบ EDI ได้แก่ สามารถออกของได้เร็ว ลดความผิดพลาด ลดต้นทุนการบริหารระบบสินค้าคงคลัง ลดค่าใช้จ่ายทางด้านเอกสาร ประหยัดเวลา มีระบบข้อมูลที่ทันสมัยและได้เปรียบคู่แข่งที่อยู่นอกระบบ

  25. เทคโนโลยี RFID RFID (Radio Frequency Identification) คือ ระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ RFID ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ซึ่งนำไปฝังไว้ในหรือติดอยู่กับวัตถุต่างๆ ที่สามารถอ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุ วัตถุประสงค์เพื่อนำไปใช้งานแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode)

  26. ระบบสารสนเทศในองค์กร • ระบบประมวลผลรายการ (TPS : Transaction Processing Systems) • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information Systems) • ระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS : Office Information Systems)

  27. ระบบประมวลผลรายการ (TPS : Transaction Processing Systems) • เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลข้อมูลรายการต่างๆ เพื่อให้ได้สารสนเทศมาใช้สนับสนุนการดำเนินงานประจำวันภายในองค์กร • TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศแล้วส่งไปยังระดับต่อไป • TPS มักจะทำการประมวลผลข้อมูลกับงานเฉพาะส่วนขององค์กร

  28. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information Systems) • เป็นระบบที่เกี่ยวกับการจัดการข้อมูลขององค์กรเพื่อผลิตสารสนเทศตามความต้องการเพื่อใช้สนับสนุนการดำเนินงาน (operation) การจัดการ (management) และการตัดสินใจ (decision making)

  29. ลักษณะสำคัญของ MIS • MIS เป็นระบบที่ช่วยในการจัดเตรียมรายงานเพื่อให้ผู้บริหารระดับต่างๆ ใช้ในการควบคุมการปฏิบัติงาน สนับสนุนการบริหารงานผู้บริหาร สามารถใช้สารสนเทศที่ได้จัดการกับปัญหาแบบมีโครงสร้างซึ่งมีขั้นตอนและกฎเกณฑ์แน่นอนในการแก้ปัญหา • MIS จะใช้ฐานข้อมูลร่วมกันและมีการรวบรวมข้อมูลจากหลายๆ ฝ่าย ทำให้ MIS มีความยืดหยุ่นในการสร้างสารสนเทศให้กับผู้บริหารตามต้องการ

  30. ระบบประมวลผลรายการ (TPS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) ฐานข้อมูล MIS ข้อมูล การขาย แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อ ระบบประมวลผลการสั่งซื้อ ข้อมูลราคา ต้นทุน สินค้า/หน่วย แฟ้มข้อมูลหลัก การผลิต รายงานต่างๆ ระบบการวางแผนทรัพยากรวัตถุดิบ MIS ข้อมูลการ เปลี่ยนแปลง สินค้า ผู้บริหาร แฟ้มข้อมูล บัญชี ระบบบัญชี แยกประเภท ข้อมูล ค่าใช้จ่าย

  31. DOC (Department Operating Center) • MOC (Ministry Operating Center) • PMOC (Prime minister Operating Center) DOC DOC DOC DOC MOC MOC DOC DOC PMOC MOC MOC DOC DOC DOC MOC DOC DOC DOC

  32. TPS TPS TPS SDU MIS TPS DOC DOC DOC DOC MOC MOC DOC DOC PMOC MOC MOC DOC DOC DOC MOC DOC DOC DOC

  33. ประโยชน์ของ MIS • ช่วยให้ได้lสารสนเทศที่ต้องการ • ช่วยให้การจัดการข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่าย • ใช้พิจารณาผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงว่าเบี่ยงเบนหรือคลาดเคลื่อนไปจากเป้าหมายหรือไม่ • ช่วยในการปฏิบัติงาน การวางแผนและการตัดสินใจ • ใช้วิเคราะห์สิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อหาหนทางควบคุมและแก้ไข • ใช้เพื่อวางแผนและตั้งเป้าหมายตามที่คาดการณ์ไว้

  34. ปัญหาในการสร้าง MIS • ต้องอาศัยความร่วมมือจากระบบงานย่อย (subsystems) หลายๆ ระบบในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ • ควรมีฐานข้อมูลร่วมกัน • การสร้าง MIS เป็นระบบใหญ่และมีโครงสร้างซับซ้อนต้องอาศัย ผู้สร้างระบบที่มีทักษะและความชำนาญ • ผู้บริหารขาดความรู้ในเรื่องระบบสารสนเทศ

  35. ความล้มเหลวของ MIS • การสร้าง MIS ใช้เวลาและลงทุนสูง • ผู้บริหารไม่นำ MIS ไปใช้ในการบริหารงาน • ผู้บริหารไม่เห็นความสำคัญและไม่ให้ความสนับสนุน

  36. ระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS : Office Information Systems) • เป็นระบบการจัดสารสนเทศในสำนักงานโดยเกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูล การผลิตเอกสารภายในสำนักงานโดยนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อลดข้อผิดพลาดและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของสำนักงาน

  37. สำนักงานอัตโนมัติ(OA : Office Automation) • คือ การนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูลเข้ามาช่วยในการพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของสำนักงาน ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และลดปริมาณการใช้ทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่อย่างจำกัด

  38. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศสำนักงาน • ระบบการจัดการเอกสาร • ระบบการจัดข่าวสาร • ระบบสนับสนุนสำนักงาน • ระบบประชุมทางไกล

  39. สาเหตุที่มีการนำเอาสำนักงานอัตโนมัติมาใช้ในสำนักงานสาเหตุที่มีการนำเอาสำนักงานอัตโนมัติมาใช้ในสำนักงาน • ค่าใช้จ่ายในสำนักงานเพิ่มมากขึ้น • จำนวนบุคลากรเพิ่มมากขึ้น • การผลิตเอกสารและการส่งเอกสารล่าช้า • ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมีมากขึ้น

  40. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศสำนักงานประโยชน์ของระบบสารสนเทศสำนักงาน • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสำนักงาน • ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย โดยไม่ต้องเพิ่มจำนวนบุคลากรมากขึ้น • ช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการทำงาน • สร้างสารสนเทศที่ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร • สร้างผลกำไรให้กับองค์กรมากขึ้น • สร้างความทันสมัย ความน่าเชื่อถือ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักงานและสร้างความภาคภูมิใจให้กับบุคลากร

  41. การพัฒนาระบบสารสนเทศ องค์กรทั่วๆ ไปจะมีระบบสารสนเทศที่ฝ่ายบริหารนำไปใช้ในการบริหารงานและช่วยในการตัดสินใจ แต่เมื่อองค์กรนั้นอาจมีการปรับเปลี่ยนหรือขยายใหญ่ขึ้นประกอบกับเทคโนโลยีเปลี่ยนไป ระบบสารสนเทศที่มีอยู่อาจไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับความต้องการ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศและนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

  42. สาเหตุที่ต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศสาเหตุที่ต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1. การบริหารงานมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น 2. ความจำเป็นในเรื่องกรอบของเวลา 3. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี

  43. บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบสารสนเทศบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1. ผู้ใช้ระบบ(Users) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (SA : System Analyst) 3. นักออกแบบระบบ (SD : System Designer) 4. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)  ผู้ใช้ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ นักออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์

  44. บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (SA) จะเป็นผู้ศึกษาระบบงานขององค์กรศึกษาและทำความเข้าใจกับการดำเนินงานในระบบปัจจุบัน วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ระบบ หาแนวทางในการแก้ปัญหาตอบสนองความต้องการที่เหมาะสม

  45. คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบที่ดีคุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบที่ดี • มีความรู้ความสามารถทางด้านระบบข้อมูลและเทคโนโลยี • 2.มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม • 3. มีความรู้เกี่ยวกับงานด้านธุรกิจ • 4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี • 5. มีความสามารถในการเขียนรายงานให้อ่านเข้าใจง่าย

  46. ส่วนประกอบที่สำคัญ ของการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 2. การออกแบบระบบ (System Design) 3. การพัฒนาและติดตั้งระบบเพื่อใช้งาน (System Implementation)

  47. วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ ดังต่อไปนี้ • การศึกษาเบื้องต้นหรือการสำรวจเบื้องต้น (Preliminary Investigation) • 2. การกำหนดความต้องการ (Determination of Requirements) • 3. การออกแบบระบบ (Design of System) • 4. การพัฒนาซอฟต์แวร์ (Development of Software) • 5. การทดสอบระบบ (System Testing) • 6. การติดตั้งระบบเพื่อใช้งาน (System Implementation) • 7. การดูแลรักษาระบบ (System Maintenance)

  48. 1. ขาดการวางแผน การดำเนินการและการควบคุมที่ดี 2. การกำหนดขอบเขตของโครงการและวัตถุประสงค์ไม่ชัดเจน 3. ขาดข้อมูลจากผู้ใช้ในการพัฒนาระบบและขาดการสื่อสารที่ดีกับผู้ใช้ระบบ 4. ขาดการอบรมบุคลากรผู้ใช้ระบบหรือกำหนดหน้าที่ของคนไม่ตรงกับงาน 5. ขาดผู้ประสานงานที่ดี 6. เกิดการผิดพลาดในการประมาณการ 7. ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหารทุกระดับ 8. ความไม่พร้อมทางด้านบุคลากรและเทคโนโลยี สาเหตุที่ทำให้การพัฒนาระบบสารสนเทศไม่ประสบผลสำเร็จ

  49. บทบาทของผู้บริหารการศึกษาต่อการพัฒนาการศึกษาบทบาทของผู้บริหารการศึกษาต่อการพัฒนาการศึกษา • พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี • ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา • ส่งเสริมการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษา

More Related