1 / 40

นโยบายส่งเสริมการอ่าน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ สำนักงาน กศน.

นโยบายส่งเสริมการอ่าน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ สำนักงาน กศน. สถานการณ์การอ่านในสังคมไทย. ปี 2551 คนไทยอ่านหนังสือลดลงเป็น 66.3 % จาก ปี 2548 ซึ่งเป็น 69.1 % ปี 2551 คนไทยอ่านหนังสือเฉลี่ย 39 นาทีต่อวัน ลดลงจากปี 2548 ซึ่งเป็น 46 นาทีต่อวัน.

Télécharger la présentation

นโยบายส่งเสริมการอ่าน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ สำนักงาน กศน.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์สำนักงาน กศน.

  2. สถานการณ์การอ่านในสังคมไทยสถานการณ์การอ่านในสังคมไทย • ปี 2551 คนไทยอ่านหนังสือลดลงเป็น 66.3 % จาก ปี 2548 ซึ่งเป็น 69.1 % • ปี 2551 คนไทยอ่านหนังสือเฉลี่ย 39 นาทีต่อวัน ลดลงจากปี 2548 ซึ่งเป็น 46 นาทีต่อวัน

  3. สถานการณ์การอ่านในสังคมไทยสถานการณ์การอ่านในสังคมไทย • อัตราการซื้อหนังสือของคนไทย 2 เล่ม/คน/ปี หรือร้อยละ 0.22 ของรายได้ต่อหัว (ปี2550) • อัตราการอ่านหนังสือของคนไทยเฉลี่ย 5 เล่มต่อคนต่อปี • หนังสือที่ขายดีที่สุดในตลาด ได้แก่ หนังสือ ดารา นิยาย เรื่องย่อละครTV กีฬา สุขภาพ คู่มือต่างๆ

  4. มติ ครม. 5 สิงหาคม 2552 1.กำหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ 2. กำหนดให้วันที่ 2 เมษายนของทุกปีเป็นวันรักการอ่าน 3. กำหนดให้ปี 2552-2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน

  5. 4. กำหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่มี รมว.ศธ.เป็นประธาน เป็นกลไกขับเคลื่อนการส่งเสริมการอ่านให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม มติ ครม. 5 สิงหาคม 2552

  6. เป้าหมายการดำเนินการส่งเสริมการอ่านฯเป้าหมายการดำเนินการส่งเสริมการอ่านฯ 1.ประชากรวัยแรงงานที่เป็นผู้รู้หนังสือในระดับใช้งานได้ในชีวิตประจำวัน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 97.21 เป็น 99.2 2. ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สามารถอ่านออกเขียนได้ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 92.64 เป็น 95.3 3. ค่าเฉลี่ยการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นจากปีละ 5 เล่ม/คน เป็นปีละ 10 เล่ม/คน

  7. เป้าหมาย 4. แหล่งการอ่านได้รับการพัฒนาและเพิ่มจำนวนให้สามารถจัดบริการได้ครอบคลุมทุกตำบล/ชุมชน อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 5. การสร้างภาคีเครือข่ายการอ่านเพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน

  8. คณะกรรมการส่งเสริมการอ่านฯคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านฯ 1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานคณะกรรมการ 2. กรรมการ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน การจัดทำและผลิตหนังสือ นักเขียน ราชบัณฑิตผู้แทนหน่วยงานสังกัด ศธ. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง จำนวนทั้งสิ้น 67 ราย 3. ฝ่ายเลขานุการ สำนักงาน กศน. โดย รมว.ศธ.ได้ลงนามแต่งตั้ง สำนักงานโครงการส่งเสริมการอ่าน สังกัดสำนักงาน กศน. ทำหน้าที่เป็นหน่วยเลขานุการ

  9. หน้าที่ • กำหนดนโยบาย แผนและ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการอ่าน • ส่งเสริมและประสานงานการดำเนินงานส่งเสริมการอ่าน • ส่งเสริมให้มีการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ • รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน

  10. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการอ่านฯยุทธศาสตร์การส่งเสริมการอ่านฯ 1.พัฒนาให้คนไทยมีความสามารถในด้านการอ่าน เน้นการรณรงค์ส่งเสริมการอ่านเขียนภาษาไทย การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย การบริหารจัดการและสร้างภาคีเครือข่ายเพื่อพัฒนาความสามารถในด้านการอ่านของคนไทย

  11. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการอ่านฯ (ต่อ) 2. พัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน สร้างทัศนคติให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่าน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน กำหนดมาตรการจูงใจให้ภาคีเครือข่ายร่วมส่งเสริมการอ่าน

  12. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการอ่านฯ (ต่อ) 3. สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม ในการส่งเสริมการอ่าน แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม พัฒนาและเพิ่มจำนวนแหล่งการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกชุมชน อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ

  13. แผนงานส่งเสริมการอ่านฯแผนงานส่งเสริมการอ่านฯ

  14. แผนงานที่1 รณรงค์สร้างนิสัยรักการอ่าน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการอ่าน และเกิดแรงจูงใจอยากอ่าน 2.เพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอ่าน 3. เพื่อส่งเสริมการใช้เวลาว่างในการอ่านหนังสือ

  15. 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ได้พัฒนาทักษะด้านภาษาไทย 5.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีการพัฒนาทักษะการอ่านระดับสูง 6.เพื่อสร้างต้นแบบ(Idol) ที่มีความสามารถด้านการอ่าน 7.เพื่อกระตุ้นส่งเสริมให้คนไทยสนใจอ่านวรรณคดีที่สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถทรงแนะนำ

  16. แผนงานที่ 2 เพิ่มสมรรถนะการอ่าน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต 2. เพื่อเสริมสร้างความพร้อมเพรียงของพ่อแม่ในการสอนอ่านให้แก่ลูกในวัยต่างๆ 3. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านให้กับเด็กและเยาวชน

  17. วัตถุประสงค์ 4. เพื่อแก้ปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล. 5.เพื่อแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยเป็นรายบุคคล เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสื่อใหม่สำหรับพัฒนาการอ่าน

  18. แผนงานที่ 3 สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมการอ่าน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและสร้างแหล่งเรียนรู้การอ่านให้กับคนไทยทุกกลุ่ม 2. เพื่อพัฒนาและสร้างการสื่อสารที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเลคทรอนิกส์ 3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน 4. เพื่อพัฒนาครูและบรรณารักษ์ให้เป็นนักส่งเสริมการอ่าน

  19. แผนงานที่ 4 เครือข่ายความร่วมมือการอ่าน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายในการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อระดมสรรพกำลังภาคีเครือข่ายในการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการอ่าน

  20. แผนงานที่ 5 การวิจัยและพัฒนาเพื่อการอ่าน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการอ่าน ตลอดจนการเสริมสร้างทักษะและเทคนิคการอ่าน 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลการอ่านของคนไทย 3. เพื่อนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาการอ่านของคนไทย

  21. สังคมไทยมีพื้นที่ให้แก่ผู้มีจิตอาสา ทำงานเพื่อสังคมเสมอ

  22. การดำเนินงานโครงการ โครงการอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเป็นโครงการระดับกระทรวง โดย กศน ดำเนินงานร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

  23. การทำงานของอาสาสมัครฯการทำงานของอาสาสมัครฯ • ใช้ กศน.ตำบลเป็นฐานการทำงาน เพื่อมาวางแผนการส่งเสริมการอ่าน ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนหนังสือ และเตรียมจัดกิจกรรม • กศน.ตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้ราคาถูกสำหรับประชาชน ที่รัฐลงทุนสูง โดยเฉพาะสื่อการเรียนรู้และหนังสือ โดยมี อาสาสมัครฯเป็นผู้จัดกิจกรรม ทั้งเชิงรับให้บริการในสถานที่ และเชิงรุกที่ อาสาสมัครฯออกไปในชุมชน

  24. ใครเป็นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านใครเป็นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน • ผู้มีจิตอาสา สมัครใจมาโดยไม่หวังค่าตอบแทนเป็นอาชีพ • อาสาสมัคร กศน. • ภูมิปัญญาท้องถิ่น • ข้าราชการเกษียณ • ครูกศน. • ฯลฯ

  25. ภารกิจร่วมกันของเรา • คัดเลือกอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน • ส่งเข้ารับการอบรมตามที่จะนัดหมาย ( 15 ครั้ง ) • เตรียมการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในพื้นที่รับผิดชอบ • สนับสนุนหนังสือให้มีการหมุนเวียน และเพียงพอกับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน • นิเทศ ติดตามให้คำแนะนำร่วมกับชุมชน

  26. ส่วนร่วมในการทำงาน • แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สสส. • คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม ( กทช.) • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) • สถานศึกษาในระบบโรงเรียน • ชุมชน

  27. ปลายเดือน พฤษภาคม 2553 กรุงเทพมหานคร/ปริมณฑล เปิดตัวโครงการ

  28. โครงการนี้เป็นจุดเปลี่ยนบทบาทของ กศน.

  29. จงร่วมกันสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

More Related