360 likes | 873 Vues
การวิเคราะห์ต้นทุน. นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย. ต้นทุนโรงพยาบาล (Hospital Cost). ต้นทุนโรงพยาบาล (Hospital Cost) หมายถึงค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลในการดำเนินงานให้กับผู้ป่วยประเภทต่างๆ ประกอบด้วย ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอก บาทต่อครั้ง ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยใน บาทต่อคน
E N D
การวิเคราะห์ต้นทุน นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
ต้นทุนโรงพยาบาล(Hospital Cost) • ต้นทุนโรงพยาบาล(Hospital Cost) หมายถึงค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลในการดำเนินงานให้กับผู้ป่วยประเภทต่างๆ • ประกอบด้วย • ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอก บาทต่อครั้ง • ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยใน บาทต่อคน • ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยใน บาทต่อวันนอน
ทัศนะของการประเมินต้นทุนทัศนะของการประเมินต้นทุน • 1. ต้นทุนในทัศนะของผู้ให้บริการ (Provider) ได้แก่ ค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าลงทุน • 2. ต้นทุนในทัศนะของผู้ป่วย (Patient) ได้แก่ค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยต้องจ่ายในการมารับบริการ ค่าใช้จ่ายที่เป็นผลจากการเจ็บป่วย เช่น การขาดงาน • 3. ต้นทุนในทัศนะของสังคม (Society)ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเป็นผลกระทบต่อสังคม เช่น การทำลายสิ่งแวดล้อม การเสียโอกาสทางสังคม
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุนประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน • ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวดและมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว • ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพจากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้ • ใช้คำนวณอัตราคืนทุนเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่ากิจกรรมใดควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ส่วนประกอบของต้นทุน • ต้นทุน(Total direct cost:TDC)ประกอบด้วย • 1.ค่าแรง (Labor Cost:LC) • 2.ค่าวัสดุ(Material Cost: MC) • 3.ค่าลงทุน (Capital Cost: CC)
Cost components Total Direct Cost (TDC) Labor Cost (LC) Material Cost (MC) Capital Cost (CC) Operating cost
ต้นทุนชนิดต่างๆ • ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) • ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost) • ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) • ต้นทุนที่สัมผัสไม่ได้ (Intangible Cost) • ต้นทุนดำเนินการ (Operating Cost) : LC+MC
วิธีวิเคราะห์ต้นทุน • Cost Centre Approach • Activity Approach • การคำนวณต้นทุนทางลัด
ขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุนขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุน • 1.วิเคราะห์โครงสร้างระบบงาน (System Analysis) • 2.ศึกษาต้นทุนรวมโดยตรง (Total Direct Cost) • 3.กระจายต้นทุนไปสู่หน่วยต้นทุนสุดท้าย (Cost Allocation) • 4.คำนวณหาต้นทุนทั้งหมด (Full cost) • 5.คำนวณหาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
วิเคราะห์โครงสร้างระบบงาน (System Analysis) • กำหนดหน่วยต้นทุน(Cost Centre) แบ่งเป็น • 1.หน่วยต้นทุนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-revenue producing cost center : NRPCC) • 2.หน่วยต้นทุนที่ก่อให้เกิดรายได้ (Revenue producing cost center : RPCC) • 3.หน่วยงานที่บริการผู้ป่วยโดยตรง (Patient service area : PS) • 4.หน่วยงานที่ให้บริการอื่นๆ (Non-patient service area : NPS)
Total direct cost • Total direct cost = LC +MC+CC • ค่าแรง (Labor Cost:LC) • ค่าวัสดุ(Material Cost: MC)
Capital Cost • ค่าลงทุน (Capital Cost: CC) หมายถึง • ต้นทุนค่าเสื่อมราคาประจำปี (Depreciation Cost) • ต้นทุนค่าเสื่อมราคา = ราคาซื้อเมื่อเริ่มต้น – ราคาซาก อายุการใช้งาน(ปี)
การคำนวณต้นทุนทั้งหมด (Full Cost) TDC of NRPCC and RPCC Allocation method Allocation factor Indirect cost from NRPCC Indirect cost from RPCC TDC of PS , NPS Routine service cost (RSC) Medical care cost (MCC) Full cost
ตัวอย่างการกระจายต้นทุนตัวอย่างการกระจายต้นทุน ฝ่ายบริหารทั่วไป ห้องยา โรงครัว OPD IPD ผู้ป่วย ผู้ป่วย
Cost Allocationand Distribution • 1. Direct Distribution Method • 2. Step –Down Method • 3. Double Distribution Method • 4. Multiple Distribution Method • 5. Simultaneous Equations Method
ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) • ต้นทุนต่อหน่วยบริการ (Unit Cost) = ต้นทุนทั้งหมดของแผนกบริการผู้ป่วย จำนวนหน่วยบริการ
การวิเคราะห์ต้นทุนที่สถานบริการปฐมภูมิการวิเคราะห์ต้นทุนที่สถานบริการปฐมภูมิ • ใช้กิจกรรมเป็นหลัก (Activity Approach) โดยกำหนดให้กิจกรรมเป็นเหมือนหน่วยต้นทุน • ต้องกระจายต้นทุนจากกิจกรรมที่สนับสนุนกิจกรรมบริการในสถานบริการ เช่น งานบริหาร ไปยังกิจกรรมบริการ • การกระจายใช้สัดส่วนของต้นทุนของแต่ละกิจกรรม(ยกเว้นกิจกรรมสนับสนุน)เทียบกับต้นทุนทั้งหมด
การคำนวณต้นทุนทางลัด • เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี • ค่าแรง: ค่าแรงที่ควบคุมได้ , ค่าแรงที่ควบคุมไม่ได้ • ค่าวัสดุ: ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าเวชภัณฑ์ ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้สอย คาซ่อมแซม • เก็บข้อมูลผลงานการให้บริการ • ปรับยอดผลงานให้บริการ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปใช้สัดส่วน 18 : 1 โรงพยาบาลชุมชนใช้สัดส่วน 14: 1 • คำนวณต้นทุนต่อหน่วยบริการ
District hospital • unit cost OP visit = operating cost OP visit + (IP case * 14) • unit cost IP case = unit cost OP * 14
สถานีอนามัย • 44% operating cost = cost of curative • unit cost OP visit = operating cost * 0.44 OP visit
การนำข้อมูลต้นทุนไปใช้ประโยชน์การนำข้อมูลต้นทุนไปใช้ประโยชน์ • ระดับหน่วยต้นทุน • ระดับโรงพยาบาล • ระดับจังหวัด หรือระดับประเทศ