1 / 61

พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546

พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546. โดย. สาโรช นักเบศร์. อัยการผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด. พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 การคุ้มครองเด็ก. เด็กที่ได้รับ การคุ้มครอง. แนวทาง การคุ้มครอง. บทบาท หน้าที่ ผู้คุ้มครองเด็ก. ความหมาย. สงเคราะห์. คุ้มครอง สวัสดิภาพ. ส่งเสริม

kaz
Télécharger la présentation

พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 โดย สาโรช นักเบศร์ อัยการผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด

  2. พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 การคุ้มครองเด็ก เด็กที่ได้รับ การคุ้มครอง แนวทาง การคุ้มครอง บทบาท หน้าที่ ผู้คุ้มครองเด็ก ความหมาย สงเคราะห์ คุ้มครอง สวัสดิภาพ ส่งเสริม ความประพฤติ อายุต่ำกว่า 18 ปี เด็กยาก ลำบาก ขาดไร้อุปการะ ผู้ปกครอง ไม่สามารถ ไม่เหมาะสม เด็กเสี่ยง ต่อการ กระทำผิด เด็กถูก ทารุณกรรม นักเรียน นักศึกษา

  3. เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด ประพฤติตน ไม่สมควร ประกอบอาชีพ ที่จะชักนำไป ในทางผิดกฎหมาย ศีลธรรม สมาคมกับบุคคล ที่อาจชักนำไป ในทางผิดกฎหมาย ศีลธรรม อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่อาจนำไป ในทางเสียหาย

  4. เด็กที่ถูกทารุณกรรม ถูกทำให้ เสื่อมเสีย เสรีภาพ ถูกกระทำผิด ทางเพศ ถูกทำให้เกิด อันตรายแก่กาย หรือจิตใจ ถูกใช้ให้ทำ ในสิ่งที่น่าเป็น อันตรายแก่กาย หรือจิตใจ ถูกใช้ให้ทำ ในสิ่งที่น่าขัด ต่อกฎหมาย หรือศีลธรรม

  5. แนวทางคุ้มครองเด็กโดยกฎหมายแนวทางคุ้มครองเด็กโดยกฎหมาย ข้อห้ามกระทำ ผิดต่อเด็ก ข้อห้ามเด็ก กระทำผิด สงเคราะห์ คุ้มครอง สวัสดิภาพ ส่งเสริม ความประพฤติ ฝ่าฝืน ฝ่าฝืน แก้ปัญหาเด็ก ป้องกันเด็ก มีโทษอาญา คุ้มครอง สวัสดิภาพ แนวทางคุ้มครองเด็กโดยสังคม เด็กเรียนรู้ รัฐอุ้มชู คุณครูอบรม ชุมชนดูแล พ่อแม่ใกล้ชิด แนบสนิท หลักธรรม รู้ได้ด้วย ตนเอง IQ , EQ , MQ อบรม สั่งสอน เฝ้าระวังเด็ก สิ่งแวดล้อม ความรัก ความเข้าใจ หลักดำเนินชีวิต

  6. ข้อห้ามกระทำผิดต่อเด็กข้อห้ามกระทำผิดต่อเด็ก ทำ ทารุณกรรม ไม่ให้สิ่งจำเป็น ดำรงชีพ, รักษา บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม ยินยอมให้เด็ก จำหน่าย แลกเปลี่ยน ให้สุรา, บุหรี่ ใช้หรือยินยอม ให้เด็กเล่นพนัน เข้าไปในที่ เด็กห้ามเข้า โฆษณา ขอรับเด็ก ยกเด็กให้ ข้อมูลเด็ก ประพฤติตน ไม่สมควร เสี่ยงต่อ การทำผิด ขอทาน เร่ร่อน ทำผิดกฎหมาย ทำขัดต่อ การเจริญเติบโต และพัฒนา แสดง ลามก อนาจาร

  7. ข้อห้ามเด็กกระทำผิด ซื้อ เสพ สุรา บุหรี่ เข้าไปในสถานที่ เพื่อจำหน่ายเสพ สุราหรือบุหรี่ ฝ่าฝืนระเบียบ โรงเรียนสถานศึกษา ลงโทษตามระเบียบ, ตักเตือน ทัณฑ์บน ผู้ปกครอง ฝ่าฝืน ทำงาน บริการสังคม สาธารณประโยชน์ วางข้อกำหนด ให้ผู้ปกครอง ปฏิบัติ ว่ากล่าว ตักเตือน ทำทัณฑ์บน

  8. การใช้ พรบ.คุ้มครองเด็ก แก้ปัญหาเด็ก ป้องกันเด็ก ส่งเสริมความประพฤติ การสงเคราะห์เด็ก การคุ้มครอง สวัสดิภาพเด็ก เด็กถูก สงเคราะห์ คุ้มครอง สวัสดิภาพ นักเรียน นักศึกษา ยากลำบาก ขาดไร้ อุปการะ ผู้ปกครอง ไม่สามารถ, ไม่เหมาะสม ถูก ทารุณกรรม เสี่ยง ต่อการ กระทำผิด

  9. แนวทางสงเคราะห์เด็ก(มาตรา 33) ช่วยเหลือครอบครัวเด็ก ให้อุปการะเด็กเลี้ยงดูเด็กได้ มอบเด็กให้บุคคลอื่น อุปการะชั่วคราว 1 เดือน ให้เด็ก ได้เป็น บุตร บุญธรรม ครอบครัว อุปถัมภ์ สถาน รับเลี้ยงเด็ก สถาน แรกรับ ศึกษา, ฝึกอาชีพ กล่อมเกลา จิตใจ ทางศาสนา สถาน สงเคราะห์ สถานพัฒนา ฟื้นฟู

  10. แนวทางคุ้มครองสวัสดิภาพแนวทางคุ้มครองสวัสดิภาพ เด็กถูกทารุณกรรม (ม.41,42) ตรวจค้นและแยกเด็ก ตรวจร่างกายและจิตใจ สืบเสาะพินิจเด็กและครอบครัว กำหนดวิธีคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสม สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานพัฒนาฟื้นฟู สถานคุ้มครอง สวัสดิภาพ คืน ผู้ปกครอง

  11. แนวทางคุ้มครองสวัสดิภาพแนวทางคุ้มครองสวัสดิภาพ เด็กเสี่ยงต่อการกระทำผิด (มาตรา 44) สอบถามเด็กและสืบเสาะพินิจ สงเคราะห์ – คุ้มครองสวัสดิภาพ คืนผู้ปกครอง สถาน สงเคราะห์ สถานคุ้มครอง สวัสดิภาพ สถานพัฒนา และฟื้นฟู วางข้อกำหนด ตั้งผู้คุ้มครอง สวัสดิภาพ ระวังไม่ให้เด็ก จัดให้เด็ก เข้าสถานที่จูงใจให้เด็กเสีย ได้รับการศึกษา ออกนอกที่อยู่อาศัยในเวลากลางคืน ประกอบอาชีพเหมาะสม ทำกิจกรรมพัฒนาตนเอง ด้านคุณธรรม จริยธรรม คบหาบุคคลที่ชักนำไปในทางเสื่อมเสีย กระทำการใดในทางเสียหาย บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

  12. แนวทางส่งเสริมความประพฤติแนวทางส่งเสริมความประพฤติ เด็กที่ถูกสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ (ม.44) นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง (ม.63) รับการศึกษา ฝึกอาชีพ กล่อมเกลา จิตใจ ทางศาสนา ทำกิจกรรม พัฒนาตนเอง แนะแนว ปรึกษา อบรม

  13. บทบาทหน้าที่คุ้มครองเด็กบทบาทหน้าที่คุ้มครองเด็ก ผู้ปกครอง (คุ้มครอง อบรมเลี้ยงดู,พัฒนา) เจ้าหน้าที่ หน่วยงานรัฐ ประชาชน (เฝ้าระวัง) ครู อาจารย์ โรงเรียนสถานศึกษา แพทย์ พยาบาล สาธารณสุข นักจิตวิทยา นักสังคม สงเคราะห์ พนักงาน เจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่ คุ้มครอง สวัสดิภาพ ฝ่ายปกครอง ตำรวจ อัยการ สั่งสอน แนะแนว ปรึกษา อบรม สงเคราะห์ คุ้มครอง ส่งเสริม ผวจ.,ผ.กทม นายอำเภอ,ผ.เขต ดูแลสุขภาพ อนามัย IQ,EQ นายกเทศมนตรี นายก อบจ. นายก อบต. คุ้มครองเด็ก ทั้ง 3 วิธี

  14. แนวคิดในการคุ้มครองเด็กให้สัมฤทธิผลและยั่งยืน #เด็กเรียนรู้ (SELF LEARNING)* เด็กเป็นศูนย์กลาง ทุกภาคส่วนร่วมกันฝึกเด็กให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง # รัฐอุ้มชู(PROTECTION)* รัฐต้องปกป้องคุ้มครองเด็กให้พ้นจากภยันตรายโดยสร้างภูมิคุ้มกันแต่แรกเกิด# คุณครูอบรม (TEACHING)* โรงเรียน สถานศึกษา ครู อบรมสั่งสอนเด็กทั้งทางวิทยาการและการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม# ชุมชนดูแล (COMMUNITY EYES) * ชุมชนมีส่วนช่วยเหลือเฝ้าระวังดูแลเด็ก จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม # พ่อแม่ใกล้ชิด (LOVE)* ธรรมชาติของพ่อแม่ต้องเลี้ยงดูลูกอย่างใกล้ชิด ด้วยความรักและความเข้าใจ# แนบสนิทหลักธรรม (MORAL)* ทุกฝ่ายนำหลักธรรมเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของตนเองและเด็ก อ.สาโรช

  15. โครงสร้างกระบวนการเรียนรู้ (วิทย์) คน (สมอง) กาย จิต ประสาทรับรู้ รับรู้ ควบคุม สติ สัมปชัญญะ ปฏิกริยาโต้ตอบ ตา หู จมูก ลิ้น กาย (สัมผัส) ใจ(รู้สึกเอง) รู้สึก จำ คิด แสดงปฏิกริยา สิ่งแวดล้อมรอบกาย กาย จิต ครอบครัว เพื่อน ฮีโร่ , สื่อ โรงเรียน ชุมชน สังคม ทำ พูด รู้สึก นึกคิด ผล (ปัญหา) ต้นเหตุปัญหา รู้เหตุแก้ไขได้ อ.สาโรช รู้วิธีปัญหาหมด

  16. โครงสร้างกระบวนการเรียนรู้ (พุทธ) คน (ขันธ์ห้า) *สมอง* กาย (รูป) จิต (นาม) ประสาทรับรู้ (อายตนะหก) รับรู้ (วิญญาณ) ควบคุม - สติ - สมาธิ - ปัญญา ปฏิกริยาโต้ตอบ (อาการจิต) ตา หู จมูก ลิ้น กาย (สัมผัส) ใจ(รู้สึกเอง) รู้สึก (เวทนา) จำ (สัญญา) คิด (สังขาร) แสดงปฏิกิริยา (กรรม) สิ่งแวดล้อมรอบกาย (อายตนะภายนอก) กาย (รูป) จิต (นาม) ครอบครัว เพื่อน ฮีโร่ , สื่อ โรงเรียน ชุมชน สังคม ทำ (กายกรรม) พูด (วจีกรรม) รู้สึก (ทุกข์-สุข) นึกคิด (ปรุงแต่ง) ทุกข์ ผล (ปัญหา) สมุทัย(อวิชชา) ต้นเหตุปัญหา นิโรธ รู้เหตุแก้ไขได้ มรรค(วิชชา) อ.สาโรช รู้วิธีปัญหาหมด

  17. สูญญตา(หัวใจพุทธธรรม) รู้พร้อมน้อมดูจิต เห็นฐานคิดโลภโกรธหลง กิเลสพลันดับลง ใจธำรงสูญญตา สติปัฐฐานสี่ มรรควิถีไตรสิกขา บำเพ็ญเป็นวิชชา ทำขันธ์ห้าว่างไตรวัฏฏ์ ประจักษ์แจ้งสัจจะ ไตรลักษณ์อะริยะสัจจ์ ตถาตานุวัต อิทัปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท ไม่ประมาทอวิชชา เพียรหมั่นดับสัญญา ทุกผัสสาแค่รับรู้ ไม่มีตูและสู ไม่ใช่กูและของกู ทุกสิ่งล้วนเกิดอยู่ เพียงชั่วครู่แล้วดับไป ไม่ยึดไม่ถือมั่น เพราะรู้ทันปล่อยมันไป ธรรมะและกายใจ ใช่อื่นใดสูญญตาอ.สาโรช นิพพาน มรรค ผล

  18. การคุ้มครองเด็ก ได้แก่ การสงเคราะห์เด็ก การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก การส่งเสริมความประพฤติเด็ก “บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส” เด็ก การคุ้มครองเด็ก การให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์ คุ้มครองและส่งเสริมให้เด็กได้รับการอุปการะ เลี้ยงดู อบรมสั่งสอนและมีพัฒนาการเพื่อให้เด็ก มีความประพฤติเหมาะสม ไม่เสี่ยงต่อการกระทำผิด รับผิดชอบต่อสังคม และมีความปลอดภัย ไม่ถูกทำ ทารุณกรรม ไม่ถูกเลือกปฎิบัติโดยไม่เป็นธรรม

  19. แนวทางในการคุ้มครองเด็กแนวทางในการคุ้มครองเด็ก เด็กและครอบครัว ที่จำต้องคุ้มครอง แจ้งหรือรายงาน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ นำเด็กสู่กระบวนการยุติธรรม ให้ความช่วยเหลือ และสงเคราะห์ ตามมาตรา 33 ให้ความคุ้มครองสวัสดิภาพ ตามมาตรา 41,42,44,45 ส่งเสริมความประพฤติ ตามมาตรา 63,66

  20. การสงเคราะห์เด็ก การให้ความช่วยเหลือ แก่เด็กและครอบครัว ซึ่งอยู่ในสภาวะที่จะต้องได้รับการสงเคราะห์เพื่อให้เด็กได้รับการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนและพัฒนาการตามมาตรฐานขั้นต่ำที่กฎกระทรวงกำหนด • การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก การคุ้มครองให้เด็กปลอดภัยจากอันตรายหรือไม่ให้ตกอยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการกระทำผิด • การส่งเสริมความประพฤติเด็ก งานหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กมีความประพฤติ ที่เหมาะสม รับผิดชอบต่อสังคมและมีความปลอดภัย

  21. เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ (มาตรา 32) • เด็กเร่ร่อน เด็กกำพร้า เด็กถูกทอดทิ้ง หรือพลัดหลง • เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ • เด็กที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ • เด็กที่ถูกทารุณกรรม เด็กพิการ • เด็กที่มีความประพฤติเสื่อมเสียในทางศีลธรรม • เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก • เด็กที่อยู่ในสภาพต้องได้รับการสงเคราะห์ตามกฎกระทรวง

  22. แนวทางช่วยเหลือสงเคราะห์เด็ก (มาตรา 33) • ช่วยเหลือครอบครัวให้สามารถเลี้ยงดูเด็กได้มาตรฐานขั้นต่ำ • มอบเด็กให้ผู้เหมาะสมดูแลชั่วคราวไม่เกิน 1 เดือน • ดำเนินการให้เด็กได้เป็นบุตรบุญธรรม • ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือครอบครัวอุปถัมภ์ • ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะในสถานแรกรับ • ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะในสถานสงเคราะห์ , สถานพัฒนาและฟื้นฟู • ส่งเด็กเข้ารับการศึกษากล่อมเกลาจิตใจทางศาสนา

  23. เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ(มาตรา 40) • เด็กที่ถูกทารุณกรรม • เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด • เด็กที่อยู่ในสภาพต้องได้รับการคุ้มครอง สวัสดิภาพตามกฎกระทรวง

  24. แนวทางในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก (มาตรา 41,42,44) ตรวจค้นและแยกตัวเด็ก สืบเสาะพินิจ ส่งเด็กไปสถานแรกรับ สถานพัฒนาและฟื้นฟู ไม่เกิน 7 วัน ขยายได้ 30 วัน กำหนดวิธีคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่เหมาะสม ส่งสถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก

  25. เด็กที่พึงได้รับการส่งเสริมความประพฤติเด็กที่พึงได้รับการส่งเสริมความประพฤติ • เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ ตามมาตรา 30 • เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ ตามมาตรา 42,44 • เด็กนักเรียน นักศึกษา (มาตรา 63)

  26. แนวทางในการส่งเสริมความประพฤติแนวทางในการส่งเสริมความประพฤติ ส่งเด็กเข้ารับการศึกษา ฝึกหัดอาชีพ (มาตรา 33 (7)) ส่งเด็กเข้าศึกษากล่อมเกลาจิตใจตามหลักศาสนา (มาตรา 33(7)) จัดให้เด็กกระทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเองด้านคุณธรรม จริยธรรม และบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม (มาตรา 44(7)) จัดให้มีกิจกรรมแนะแนวปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง (มาตรา 63)

  27. “ทารุณกรรม” • กระทำให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภาพ • กระทำให้เด็กเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ • กระทำผิดทางเพศต่อเด็ก • ใช้เด็กกระทำในลักษณะเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ • ใช้เด็กกระทำหรือประพฤติขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี**ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม **

  28. “การเลี้ยงดูโดยมิชอบ”“การเลี้ยงดูโดยมิชอบ” • การไม่อุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน พัฒนาเด็ก • ตามมาตรฐานขั้นต่ำที่กำหนดในกฎกระทรวง • จนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก

  29. “เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด”“เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด” • เด็กที่ประพฤติตนไม่สมควร • เด็กที่ประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคล ที่น่าจะชักนำไปในทางกระทำผิดกฎหมายหรือขัดศีลธรรมอันดี • เด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่อันอาจ ชักนำไปในทางเสียหาย

  30. “ผู้ปกครอง” • บิดา มารดาของเด็กไม่ว่าจะจดทะเบียนสมรสหรือไม่ • ผู้อนุบาล , ผู้รับบุตรบุญธรรม • ผู้ปกครองที่ศาลแต่งตั้ง • พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง , นายจ้าง • ผู้ปกครองสวัสดิภาพ • บุคคลที่รับเด็กไว้อุปการะเลี้ยงดูหรือเด็กอาศัยอยู่ด้วย

  31. ข้อห้ามกระทำต่อเด็ก(มาตรา 26,27) • ทำทารุณกรรมต่อร่างกายหรือจิตใจของเด็ก • ไม่ให้สิ่งจำเป็นแก่การดำรงชีวิตแก่เด็กที่อยู่ในความดูแล , รักษาพยาบาล • บังคับขู่เข็ญ ชักชวน ส่งเสริม ยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควร • บังคับขู่เข็ญ ชักชวน ส่งเสริม ยินยอมให้เด็กมีความประพฤติเสี่ยงต่อการกระทำผิด • บังคับขู่เข็ญ ชักชวน ส่งเสริม ยินยอมให้เด็กไปเป็นขอทาน เด็กเร่ร่อน • บังคับขู่เข็ญ ชักชวน ส่งเสริม ยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรือกระทำการใด เพื่อประโยชน์ทางการค้า , เล่นการพนัน • บังคับขู่เข็ญ ชักชวน ส่งเสริม ยินยอมให้เด็กแสดง - กระทำลามกอนาจาร

  32. ใช้หรือยินยอมให้เด็กเข้าไปในสถานที่เล่นการพนัน สถานค้าประเวณี หรือ สถานที่ห้ามเด็กเข้า • ใช้ จ้าง วาน เด็กให้ทำงานหรือกระทำการเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ • ใช้เด็กเป็นเครื่องมือในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ, กระทำผิด , ขอทาน • โฆษณาเผยแพร่ทางสื่อมวลชนเพื่อขอรับเด็กหรือยกเด็กให้แก่ผู้อื่น • จำหน่าย แลกเปลี่ยนหรือให้สุราหรือบุหรี่แก่เด็ก • โฆษณาเผยแพร่ทางสื่อมวลชนหรือสื่อสารสารสนเทศอื่นซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวเด็ก หรือผู้ปกครองให้เกิดความเสียหายแก่เด็ก (มาตรา 27) • ฝ่าฝืนมาตรา 26 จำคุก 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30,000 บาท • ฝ่าฝืนมาตรา 27 จำคุก 6 เดือน ปรับไม่เกิน 60,000 บาท

  33. ข้อห้ามเด็ก นักเรียน นักศึกษากระทำ(มาตรา 45,65) • ห้ามซื้อหรือเสพสุราหรือบุหรี่ • ห้ามเข้าไปในสถานที่เฉพาะเพื่อการจำหน่ายหรือ เสพสุราหรือบุหรี่ • ห้ามนักเรียน นักศึกษา ฝ่าฝืนระเบียบของโรงเรียน สถานศึกษา

  34. ถ้าฝ่าฝืนผลที่ได้รับ เด็ก* ถูกว่ากล่าวตักเตือน * ทำทัณฑ์บน * ทำงานบริการสังคมหรืองานสาธารณะประโยชน์ ผู้ปกครอง * ปฏิบัติตามข้อกำหนดมิให้เด็กกระทำผิดอีก * ทำทัณฑ์บน *วางเงินประกัน • ผู้ที่ยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนนักเรียน นักศึกษา ฝ่าฝืนระเบียบมีโทษจำคุก 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30,000 บาท

  35. ผู้มีหน้าที่คุ้มครองเด็กผู้มีหน้าที่คุ้มครองเด็ก 1. ประชาชนทั่วไป (มาตรา 22,29) 2. สหวิชาชีพ (มาตรา 29) 3. ผู้ปกครอง (มาตรา 23,25) 4. พนักงานเจ้าหน้าที่สงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก (มาตรา28,30) 5. พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนนักศึกษา (มาตรา65,66,67) 6. โรงเรียนและสถานศึกษา (มาตรา63) 7. ผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก (มาตรา 24,28,30) 8. สถานสงเคราะห์คุ้มครองสวัสดิภาพ

  36. บทบาทหน้าที่ของประชาชนทั่วไป*ต้องปฏิบัติต่อเด็กโดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กและ ไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (มาตรา 22)*เมื่อพบเห็นเด็กตกอยู่ในสภาพจำต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ (มาตรา 29)*ห้ามกระทำผิดต่อเด็กตามมาตรา 26 ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่*ห้ามโฆษณาเผยแพร่ทางสื่อมวลชนหรือสื่อสารสนเทศอื่นซึ่งข้อมูลเกี่ยวแก่ตัวเด็กหรือผู้ปกครองทำให้เกิดความเสียหายแก่เด็ก (มาตรา 27)

  37. บทบาทหน้าที่ของสหวิชาชีพ (มาตรา 29) * แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับตัวเด็กไว้รักษาพยาบาล*ครู อาจารย์ หรือนายจ้าง ซึ่งมีหน้าที่ดูแลเด็กที่เป็นศิษย์หรือลูกจ้าง - หากพบหรือสงสัยว่าเด็กถูกทารุณกรรมหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการเลี้ยงดูโดยมิชอบต้องรายงานโดยไม่ชักช้าต่อเจ้าหน้าที่ *แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา ต้องรักษาทางด้านร่างกายและจิตใจ และฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ แก่เด็กที่จำต้องสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพ

  38. บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง(มาตรา 23,25,34)*ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนและพัฒนาเด็ก ตามมาตรฐานขั้นต่ำ* ผู้ปกครองต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองมิให้ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ*ผู้ปกครองต้องไม่ทอดทิ้งเด็กหรือละทิ้งเด็กไว้ ณ สถานที่ใด* ผู้ปกครองต้องไม่ละเลยให้สิ่งจำเป็นแก่การดำรงชีพหรือสุขภาพเด็ก*ผู้ปกครองต้องไม่ขัดขวางการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก*ผู้ปกครองต้องไม่เลี้ยงดูเด็กโดยมิชอบ* ผู้ปกครองหรือญาติของเด็กอาจนำเด็กไปขอรับการสงเคราะห์ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ ถ้าไม่อาจอุปการะเลี้ยงดูได้

  39. บทบาทหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่สงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก (มาตรา 28,30) 1. พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องดำเนินการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กในกรณีดังต่อไปนี้* ผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรม สั่งสอน และพัฒนาเด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด * ผู้ปกครองกระทำการใดอันน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพ หรือขัดขวางต่อความเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก * ผู้ปกครองให้การเลี้ยงดูโดยมิชอบ * มีเหตุจำเป็นอื่นใดเพื่อประโยชน์ในการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กหรือป้องกันมิให้เด็กได้รับอันตรายหรือถูกเลือกปฏิบัติโดยมิชอบ

  40. 2. การสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ ดังนี้ - เข้าไปในเคหสถานที่ใดๆ ยานพาหนะใดๆ ระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกเพื่อตรวจค้นเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการทารุณกรรมเด็ก มีการกักขังหรือเลี้ยงดูโดยมิชอบ (หลังพระอาทิตย์ตกเมื่อมีเหตุผลพิเศษ) - ซักถามเด็กหรืออาจนำตัวเด็กไปยังที่ทำการของพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและครอบครัวได้ ไม่เกิน 12 ชั่วโมง แล้วต้องส่งมอบตัวเด็กให้ผู้ปกครอง - มีหนังสือเรียกผู้ปกครอง นายจ้าง ผู้ครอบครองดูแลสถานที่ที่เด็กอาศัย หรือศึกษา หรือบุคคลอื่น มาให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเด็ก - เข้าไปในสถานที่อยู่อาศัย สถานที่ประกอบการ สถานศึกษา หรือ สถานที่ที่เด็กเกี่ยวข้องด้วย ระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก เพื่อสอบถามรวบรวมข้อมูลหลักฐานเกี่ยวกับเด็ก - มอบตัวเด็กให้แก่ผู้ปกครองพร้อมแนะนำตักเตือนผู้ปกครอง - ทำรายงานเกี่ยวกับตัวเด็ก และดำเนินการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพ

  41. บทบาทหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤติ(มาตรา65,66,67)บทบาทหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤติ(มาตรา65,66,67) • ถ้านักเรียนนักศึกษาฝ่าฝืนระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษา พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ ดังนี้ - มอบตัวนักเรียน นักศึกษาให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษาไปเพื่ออบรมสั่งสอนและลงโทษ - สอบถามครู อาจารย์ หัวหน้าสถานศึกษาเกี่ยวกับตัวนักเรียน นักศึกษา - เรียกผู้ปกครองมาว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนว่าจะดูแลไม่ให้นักเรียนนักศึกษาฝ่าฝืนระเบียบอีก แนะนำผู้ปกครองเรื่องอบรมสั่งสอน - สอดส่องดูแลและรายงานความประพฤติของบุคคลหรือแหล่งที่ชักจูงนักเรียน นักศึกษาให้ประพฤติไปในทางมิชอบ - ประสานงานกับผู้บริหารโรงเรียนสถานศึกษา ครู ผู้ปกครอง ตำรวจ พนักงานเจ้าหน้าที่อื่นเพื่อส่งเสริมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา - เข้าไปในเคหสถาน สถานที่หรือยานพาหนะใดๆ ในเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกเพื่อตรวจสอบการฝ่าฝืนกฎหมายหรือระเบียบของโรงเรียน สถานศึกษาได้

  42. บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนและสถานศึกษา(มาตรา63,64)บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนและสถานศึกษา(มาตรา63,64) • ต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมแนะแนวให้คำปรึกษาและฝึกอบรมแก่ นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง • เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา • - มีความประพฤติที่เหมาะสม • - มีความรับผิดชอบต่อสังคม • - มีความปลอดภัย • วางระเบียบให้นักเรียน นักศึกษาปฏิบัติตามกฎกระทรวง

  43. บทบาทหน้าที่ของผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก(มาตรา 24) ผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก * ปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ *ผู้ว่าราชการจังหวัด , ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร *นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้ากิ่งอำเภอ * ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(นายก อบจ.,อบต., เทศบาล.ฯ)

  44. บทบาทหน้าที่ 1. มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2. ดูแลและตรวจสอบสถานรับเลี้ยงเด็ก,สถานแรกรับ,สถานสงเคราะห์,สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟื้นฟูสถานพินิจที่อยู่ในเขตอำนาจ 3. รายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการคุ้มครองเด็กฯ 4. มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่

  45. บทบาทหน้าที่ของพนักงานอัยการบทบาทหน้าที่ของพนักงานอัยการ 1. เป็นที่ปรึกษาด้านกฎหมายแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่และประชาชน 2. ยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กเบื้องต้น 3. ยื่นคำร้องขอให้ศาลสั่งวิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่เด็ก 4. ยื่นคำร้องขอให้ศาลคุ้มครองสิทธิของเด็กและผู้ปกครองตามที่กฎหมายให้อำนาจ เช่น ตั้งผู้ปกครองเด็ก , ตั้งผู้อนุบาลเด็ก , ตั้งผู้จัดการมรดก, ขอรับบุตรบุญธรรม เป็นต้น 5. เป็นทนายแก้ต่างให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ที่ถูกฟ้องเพราะปฏิบัติหน้าที่ 6. เป็นโจทก์ฟ้องผู้กระทำผิดกฎหมายอาญา

  46. บทบาทหน้าที่พิเศษของปลัดกระทรวง ผวจ. - ผว.กทม1. มีอำนาจส่งเด็กเข้ารับการสงเคราะห์ในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตุสมควรหรือไม่อาจให้ความยินยอมได้ 2. กำหนดระยะเวลา ขยายหรือย่นระยะเวลาในการสงเคราะห์เด็ก 3. สั่งให้เด็กพ้นจากการสงเคราะห์และมอบตัวเด็กให้แก่ผู้ปกครอง 4. สั่งให้เด็กที่ได้รับการสงเคราะห์และอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์แล้ว ได้รับการสงเคราะห์ต่อไปจนอายุ 20 ปีบริบูรณ์หรือต่อไปจนถึงอายุ 24 ปีบริบูรณ์ ถ้ามีเหตุจำเป็น 5. สั่งให้ใช้วิธีการคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมแก่เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด 6. สั่งการตามที่เห็นสมควรเกี่ยวกับวิธีการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กตามที่ผู้ปกครองสวัสดิภาพเสนอความเห็น

  47. 7. แต่งตั้งผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กคราวละ ไม่เกิน 2 ปี 8. จัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถาน พัฒนาและฟื้นฟู ภายในเขตอำนาจรับผิดชอบ 9. สนับสนุนหน่วยงานอื่นของรัฐจัดตั้งเฉพาะสถานรับเลี้ยงเด็กในเขต 10. ออกใบอนุญาตและเพิกถอนใบอนุญาตกรณีที่ผู้อื่นจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟูในเขตอำนาจ 11. กำกับดูแลและส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพและสถานพัฒนาและฟื้นฟูในเขตอำนาจ 12. แต่งตั้งและถอดถอนผู้ปกครองสวัสดิภาพ

  48. สถานที่สำหรับสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กสถานที่สำหรับสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก • สถานรับเลี้ยงเด็ก • สถานแรกรับ • สถานสงเคราะห์ • สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ • สถานพัฒนาและฟื้นฟู

  49. สาระสำคัญ * ลักษณะสถานที่ *การขออนุญาตและเพิกถอน * การควบคุมดูแล *บทบาทหน้าที่ * ผู้ปกครองสวัสดิภาพ * ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพ * ข้อห้ามสำหรับผู้มีหน้าที่คุ้มครองเด็ก

  50. การควบคุมและตรวจสอบพนักงานเจ้าหน้าที่การควบคุมและตรวจสอบพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่ควบคุมและตรวจสอบ • คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ • คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด และ กรุงเทพมหานคร • ศาลคดีเยาวชนและครอบครัว หรือศาลจังหวัด

More Related