1 / 59

บทบาทของกระทรวงการคลังต่อการค้า การลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน

บทบาทของกระทรวงการคลังต่อการค้า การลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน. นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. โครงสร้างกระทรวงการคลัง. กระทรวงการคลัง. สำนักงานรัฐมนตรี. กลุ่มภารกิจ ด้านทรัพย์สิน. กลุ่มภารกิจ ด้านรายได้.

keaira
Télécharger la présentation

บทบาทของกระทรวงการคลังต่อการค้า การลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของกระทรวงการคลังต่อการค้าการลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านบทบาทของกระทรวงการคลังต่อการค้าการลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

  2. โครงสร้างกระทรวงการคลังโครงสร้างกระทรวงการคลัง

  3. กระทรวงการคลัง สำนักงานรัฐมนตรี กลุ่มภารกิจ ด้านทรัพย์สิน กลุ่มภารกิจ ด้านรายได้ กลุ่มภารกิจ ด้านรายจ่าย และหนี้สิน สำนักงานปลัด กระทรวงการคลัง • กรมธนารักษ์ • สำนักงานคณะ • กรรมการนโยบาย • รัฐวิสาหกิจ • กรมศุลกากร • กรมสรรพสามิต • กรมสรรพากร • กรมบัญชีกลาง • สำนักงานบริหาร • หนี้สาธารณะ สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง สำนักงานความร่วมมือ พัฒนาเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน สำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง

  4. สำนักงานเศรษฐกิจ การคลัง สำนักนโยบาย การคลัง สำนักนโยบาย ภาษี สำนักนโยบาย การออมและ การลงทุน สำนักนโยบาย ระบบการเงิน สำนักนโยบาย เศรษฐกิจมหภาค และระหว่างประเทศ

  5. สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค และระหว่างประเทศ งานด้านนโยบายเศรษฐกิจ มหภาค งานด้านนโยบายเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ นโยบายเศรษฐกิจ การเงินระหว่างประเทศ นโยบายเศรษฐกิจ การคลังระหว่างประเทศ

  6. งานด้านนโยบายเศรษฐกิจงานด้านนโยบายเศรษฐกิจ การเงินระหว่างประเทศ ระบบระวังภัยทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ ความร่วมมือและการพัฒนา ทางการเงินระหว่างประเทศ การเปิดเสรีบริการการเงิน • ป้องกันและเตือนภัยก่อน • การเกิดปัญหาวิกฤติ • เศรษฐกิจทางการเงินใน • กรอบอาเซียน • เพื่อสร้างความแข็งแกร่ง • และการพัฒนาที่ยั่งยืนทาง • การเงิน • เปิดเสรีในด้านบริการและ • ธุรกิจการธนาคาร ประกันภัย • และการเงินอื่นๆ • พหุภาคี ภูมิภาคอาเซียน • และทวิภาคี (FTA)

  7. งานด้านนโยบายเศรษฐกิจงานด้านนโยบายเศรษฐกิจ การคลังระหว่างประเทศ การเปิดเสรีการค้าทวิภาคี และพหุภาคี เขตการค้าเสรีอาเซียน ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาค

  8. การเปิดเสรีการค้าทวิภาคีและพหุภาคีการเปิดเสรีการค้าทวิภาคีและพหุภาคี China EFTA India USA Korea Bahrain Japan BIMST-EC Peru Australia New Zealand

  9. การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าการเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า ลดอัตราอากรศุลกากร (Tariff) ระหว่างกันเป็นร้อยละ 0 ครอบคลุมทุกรายการสินค้า กำหนดกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) ที่เกื้อหนุนการค้า มิใช่เป็นอุปสรรคทางการค้า ลด/ยกเลิกการกีดกันทางการค้า (Non-Tariff Barrier: NTB) ที่ไม่เป็นธรรม

  10. ความตกลงเขตการค้าเสรีความตกลงเขตการค้าเสรี AFTA สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย EFTA นิวซีแลนด์ BIMSTEC จีน เกาหลี อินเดีย บาห์เรน ญี่ปุ่น เปรู

  11. ความตกลงที่มีผลบังคับใช้แล้วความตกลงที่มีผลบังคับใช้แล้ว

  12. เขตการค้าเสรีอาเซียน ตั้งขึ้นเมื่อปี 2535 ประเทศสมาชิก • ASEAN 6 (ประเทศสมาชิกเดิม): บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย • ASEAN 4 (ประเทศสมาชิกใหม่): กัมพูชาลาวพม่าเวียดนาม วัตถุประสงค์ ขยายการค้าภายในภูมิภาค ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อประสิทธิภาพการผลิตของประเทศสมาชิก และเพิ่มอำนาจต่อรองของอาเซียนในเวทีโลก

  13. เป้าหมาย • สมาชิกเดิม 6 ประเทศจะต้องลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553 • สมาชิกใหม่ 4 ประเทศจะต้องลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0 ในปี 2558 หลักการ • ยกเลิกภาษีศุลกากรในการค้าระหว่างกัน • ยกเลิกมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี • หลักการต่างตอบแทน • กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า

  14. สถานะปัจจุบัน • สมาชิกเดิม 6 ประเทศมีสินค้าที่มีอัตราภาษีร้อยละ 0-5 คิดเป็นร้อยละ 99.77 ของจำนวนรายการสินค้าในบัญชีลดภาษี (Inclusion List) • สมาชิกใหม่ 4 ประเทศมีสินค้าที่มีอัตราภาษีร้อยละ 0-5 คิดเป็นร้อยละ 76.85 ของจำนวนรายการสินค้าในบัญชีลดภาษี (Inclusion List) แผนการลดภาษีของไทย • ปัจจุบันสินค้าทุกรายการมีอัตราภาษีสินค้าร้อยละ 0-5(ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว 10 รายการ) • ลดภาษีสินค้าในบัญชีลดภาษี จำนวนร้อยละ 80 ลงเหลือร้อยละ 0 ในปี 2550 • ลดภาษีสินค้าทุกรายการลงเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553

  15. การขอใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียนการขอใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน • สินค้าต้องมีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบในอาเซียนมากกว่าร้อยละ 40 • มีใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Form D): กรมการค้าต่างประเทศ • ระเบียบวิธีปฏิบัติทางศุลกากรในการออกของ: กรมศุลกากร ประโยชน์ที่จะได้รับ • นำเข้าวัตถุดิบจากประเทศสมาชิกอาเซียนได้ในราคาถูก • ส่งสินค้าไปขายยังประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นได้ในอัตราภาษีต่ำ

  16. ประโยชน์ที่จะได้รับ • นำเข้าวัตถุดิบจากประเทศสมาชิกอาเซียนได้ในราคาถูก • ส่งสินค้าไปขายยังประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นได้ในอัตราภาษีต่ำ

  17. สำนักงานเศรษฐกิจการคลังเป็น National AFTA Unit ของไทย • ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดำเนินการเขตการค้าเสรีอาเซียน • สนับสนุนการดำเนินการตามพันธกรณี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • อำนวยความสะดวกให้กับนักธุรกิจไทยในด้านข้อมูล ข่าวสาร และ • ข้อซักถามทั่วไปที่เกี่ยวกับ AFTA

  18. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาค ACMECS AISP CHINA-YUNNAN MYANMAR LAOS งานด้านอื่นๆ CAMBODIA VIETNAM GMS

  19. ขอบเขตงาน พิจารณาให้ความเห็น รวมทั้งดำเนินการประสานงาน ในการ ให้ความร่วมมือหรือความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศใน อนุภูมิภาค ภายใต้กรอบต่างๆ เช่น ACMECS และ GMS พิจารณาให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศพัฒนาน้อยที่สุด เช่น การให้สิทธิพิเศษ AISP

  20. AISP AISP (ASEAN Integration System of Preferences: AISP) คือ การให้ สิทธิพิเศษทางศุลกากร จากประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ (ASEAN-6: บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย) แก่ประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน 4 ประเทศ (CLMV: กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม) เกิดขึ้นเมื่อปี 2544 ภายใต้กรอบความร่วมมือเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมและประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน เป็นการตกลงในลักษณะทวิภาคี โดยเป็นการให้ฝ่ายเดียวจากประเทศผู้ให้ ประเทศสมาชิกใหม่อาเซียนเป็นผู้แจ้งรายการสินค้าที่ต้องการได้รับสิทธิAISP ให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมพิจารณา

  21. รูปแบบการดำเนินการ อัตราอากร AISP : ร้อยละ 0-5 ประกาศ AISP เป็นการออกต่อเนื่องตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นไป มีผลสิ้นสุดถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 แก่ ลาว พม่า และกัมพูชา ปัจจุบัน เวียดนาม ไม่ได้รับสิทธิพิเศษนี้ เนื่องจากเวียดนามได้โอนย้ายสินค้ามาลดภาษีในบัญชีลดภาษี (IL) เหลือร้อยละ 0-5 ในกรอบเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) แล้ว จึงทำให้สินค้าของเวียดนามทุกรายการได้รับสิทธิในอัตราร้อยละ 0-5 ภายใต้ CEPT จึงไม่มีความจำเป็นต้องให้สิทธิ AISP ทบทวนการให้สิทธิทุกปี

  22. หลักเกณฑ์การพิจารณาให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี AISP • สินค้าที่จะได้รับสิทธิ AISP จะต้องมีคุณสมบัติ : • เป็นสินค้าที่ประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน แจ้งว่าต้องการได้รับสิทธิ AISP • มี Form AISP • เป็นไปตามกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin)ของ AISP สินค้าที่ประเทศเพื่อนบ้านนำมาอยู่ในบัญชีลดภาษี (IL) จะได้รับสิทธิ AISP จากไทยในอัตราร้อยละ 0 สินค้าที่ยังไม่ได้นำมาอยู่ใน IL จะพิจารณาโดยเปรียบเทียบอัตราอากรภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน (CEPT) กับ อัตราอากรทั่วไป (MFN) และให้สิทธิ AISP ในอัตราที่ต่ำกว่า หากมีข้อมูลที่ชัดเจนจากภาคเอกชนว่า การให้สิทธิ AISP เป็นการกระทบผู้ผลิตภายในประเทศ จะไม่ให้สิทธิ AISP

  23. กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin)ของ AISP กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า คือ การหาสัญชาติของสินค้า เพื่อใช้ตัดสินว่า สินค้าที่มาจากแต่ละประเทศมีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศใด สินค้าที่ได้แหล่งกำเนิดจะต้องมีใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin: C/O) ซึ่งภายใต้กรอบ AISP เรียกว่า Form AISPแนบมาด้วย สินค้าที่ได้รับสิทธิพิเศษ AISP จะต้องเป็นสินค้าที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศสมาชิกใหม่อาเซียนซึ่งจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

  24. กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin)ของ AISP สินค้าเกษตร สินค้าเกษตร หมายถึง สินค้าในพิกัดตอนที่ 01-24 และรวมถึงสินค้าเกษตรตามข้อผูกพันในองค์การการค้าโลก (WTO) ใช้กฎ Wholly Produced or Obtained (Single Country) : สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบในประเทศนั้นทั้งหมดโดยไม่มีการนำเข้า หรือ สินค้าต้องมีมูลค่าวัตถุดิบของประเทศผู้ส่งออกประเทศเดียว หรือ รวมกับวัตถุดิบจากไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

  25. กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin)ของ AISP สินค้าอุตสาหกรรม ใช้กฎ Wholly Produced or Obtained (Single Country) : สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบในประเทศนั้นทั้งหมดโดยไม่มีการนำเข้า หรือ สินค้าต้องมีมูลค่าวัตถุดิบของประเทศผู้ส่งออกประเทศเดียว หรือ รวมกับวัตถุดิบจากไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40

  26. การระงับสิทธิ AISP ไทยสามารถระงับการให้สิทธิ AISP ได้ในกรณี: มูลค่าการนำเข้าของสินค้าที่ได้รับสิทธิ AISP เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 มีผู้ผลิตภายในประเทศร้องเรียนต่อกระทรวงการคลังว่า การนำเข้าสินค้าที่ได้รับสิทธิพิเศษ AISP มีผลกระทบเชิงลบต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยมีข้อมูลที่ชัดเจนและเชื่อถือได้สนับสนุน

  27. ตารางแสดงการให้สิทธิ AISPของไทย แก่ CLM ในปี 2550 หน่วย: จำนวนรายการ

  28. ตารางแสดงการให้สิทธิ AISPของไทย แก่ CLM

  29. ตารางแสดงการให้สิทธิ AISPของไทย แก่ CLM

  30. มูลค่าการนำเข้าแยกตามประเทศมูลค่าการนำเข้าแยกตามประเทศ หน่วย: บาท

  31. มูลค่าการนำเข้าทั้งหมดและการใช้สิทธิ AISP หน่วย: บาท

  32. ประโยชน์ที่จะได้รับ ต้นทุนในการผลิตสินค้าขั้นกลางและขั้นปลายในไทยต่ำลง ส่งเสริมการจ้างงานในประเทศเพื่อนบ้าน และลดปัญหาแรงงานต่างด้าว เพื่อสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกนำรายการสินค้ามาลดภาษีใน กรอบ AFTA เร็วขึ้น

  33. กรอบความร่วมมือที่สำคัญในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกรอบความร่วมมือที่สำคัญในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

  34. GMS ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(Greater Mekong Sub Region: GMS) ก่อตั้งขึ้นในปี 2535 เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้ความร่วมมือของ 6 ประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ได้แก่กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม ไทย และจีน (ยูนาน) เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และส่งเสริมการค้าระหว่างกัน

  35. ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง(ACMECS: Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy) คือ กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมิภาคที่จัดตั้ง ขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากความแข็งแกร่งและความหลากหลายของประเทศสมาชิกเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างสมดุล ประเทศสมาชิก : ไทย กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม การประชุมระดับผู้นำมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน พ.ย. 2546 โดยได้มี การลงนามความร่วมมือในปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration)

  36. บทบาทของกระทรวงการคลังบทบาทของกระทรวงการคลัง การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน 1 ความร่วมมือด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม 2 การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม 3 ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5 ความร่วมมือด้านสาธารณสุข 6 สาขาความร่วมมือ กระทรวงการคลังมีบทบาทในกรอบความร่วมมือ ACMECS ใน 3 สาขา : การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน ความร่วมมือด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม

  37. สาขาการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน(Trade and Investment Facilitation) กระทรวงการคลังมีบทบาทในการดำเนินการ ดังนี้ ให้สิทธิพิเศษ AISP แก่ประเทศสมาชิก โดยจัดเป็นโครงการใน ลักษณะ Bilateral ในสาขาความรวมมือนี้ จัดตั้ง One Stop Service (OSS) โดยจัดเป็นโครงการแบบ Common Project และได้พร้อมดำเนินการใน 6 จุดด่านนำร่อง คือ แม่สอด แม่สาย เชียงแสน สะเดา มุกดาหาร และอรัญประเทศ

  38. สาขาความร่วมมือด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม(Agricultural and Industrial Cooperation) มีโครงการที่สำคัญของ ACMECS ในสาขานี้ ที่กระทรวงการคลังได้ร่วมในการดำเนินการคือ โครงการ Contract Farming เป็นโครงการที่เน้นการลงทุนร่วมในประเทศเพื่อนบ้าน โดยมีพืชเป้าหมายเป็นพืชที่ขาดแคลนหรือผลิตในประเทศได้ไม่เพียงพอ กระทรวงการคลังได้ออกประกาศกระทรวงฯ เมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2548เพื่อยกเว้นภาษีนำเข้าแก่สินค้าเกษตร 10 ชนิดที่นำเข้าภายใต้โครงการ Contract Farming

  39. CONTRACT FARMING พืชเป้าหมาย 10 ชนิด: ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ละหุ่ง ข้าวโพดหวาน มันฝรั่ง มะม่วงหิมพานต์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยุคาลิปตัส ลูกเดือย ถั่วเขียวผิวมัน พื้นที่นำร่อง 3 พื้นที่: ตาก-เมียวดี (พม่า) เลย-ไชยะบุรี (ลาว) จันทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน (กัมพูชา) สามารถนำเข้าได้โดยไม่ต้องใช้ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (ใบ C/O) โดยใช้หนังสือรับรองจากผู้ว่าราชการจังหวัดแทน

  40. สาขาการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม(Transport Linkage) กระทรวงการคลังมีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือทางการเงินใน การก่อสร้างเส้นทางคมนาคม โดยผ่านกลุ่มงานดำเนินการกองทุนให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้านภายใต้ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

  41. กลุ่มงานดำเนินการกองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจกลุ่มงานดำเนินการกองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน Neighboring CountriesEconomic Development Cooperation Fund (NECF) ภายใต้ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน Neighboring CountriesEconomic Development Cooperation Agency (NEDA) องค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตาม“พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจ กับประเทศเพื่อนบ้าน(องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548” เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2548 มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกา

  42. วัตถุประสงค์และบทบาทหน้าที่ของ NEDA การให้ความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ ทั้งด้านการเงินและวิชาการ การให้ความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน การศึกษาและจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายตลอดจนมาตรการต่างๆ ในการให้ความร่วมมือฯ การประสานงานกับหน่วยงานต่างๆเพื่อบูรณาการความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน

  43. ภาพรวมการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ NEDA

  44. โครงการที่สำคัญในประเทศลาวโครงการที่สำคัญในประเทศลาว โครงการก่อสร้าง เส้นทางเชียงราย-คุนหมิง ผ่าน ประเทศลาว (R-3) ขอบเขตโครงการ โครงการก่อสร้างถนน เริ่มต้นจาก บ่อแก้ว แขวง ห้วยทราย ถึงหลวงน้ำทา ประเทศลาว รวมระยะทาง 84.77 กิโลเมตร วงเงินกู้1,385 ล้านบาท โครงการคาดว่าจะแล้วเสร็จในราวเดือน กรกฎาคม 2550

  45. ไทย-ลาว R-3 เส้นทางเชียงราย-คุนหมิง

  46. โครงการที่สำคัญในประเทศลาวโครงการที่สำคัญในประเทศลาว โครงการพัฒนา เส้นทางสายห้วยโก๋น - ปากแบ่ง ประเทศลาว ขอบเขตโครงการ โครงการเริ่มต้นที่เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี (ตรงกับจังหวัดน่าน) ลงมาที่ปากแบ่ง แขวงอุดมไชย กึ่งกลางระยะทาง 49.22กม. วงเงินกู้840ล้านบาท โครงการคาดว่าจะแล้วเสร็จประมาณปลายปี 2552

  47. ไทย-ลาว เส้นทางห้วยโก๋น - ปากแบ่ง

  48. โครงการที่สำคัญในประเทศลาวโครงการที่สำคัญในประเทศลาว โครงการ เส้นทางรถไฟเชื่อมต่อระหว่างจังหวัดหนองคาย-ท่านาแล้งประเทศลาวขอบเขตโครงการ โครงการเริ่มต้นกึ่งกลางสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ที่ฝั่งประเทศ ลาว และสิ้นสุดที่สถานีท่านาแล้ง ระยะทาง 3.5 กิโลเมตร วงเงินกู้197ล้านบาท โครงการ ปรับปรุงสนามบินระหว่างประเทศวัดไต ขอบเขตโครงการ ปรับปรุงขยายทางวิ่ง ทางขับ และลาดจอดเครื่องบิน เพื่อการรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่ วงเงินกู้320ล้านบาท

  49. โครงการที่สำคัญในประเทศกัมพูชาโครงการที่สำคัญในประเทศกัมพูชา โครงการก่อสร้าง เส้นทาง ช่องสะงำ– อันลองเวง – เสียมราฐ (R-67) ขอบเขตโครงการ โครงการเริ่มต้นที่บริเวณช่องสะงำ จังหวัดศรีสะเกษ และสิ้นสุดที่ เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในภาค อีสานของไทยและในกัมพูชา วงเงินกู้1,300 ล้านบาท

  50. ไทย-กัมพูชา R-67 ช่องสะงำ-อันลองเวง-เสียมราฐ

More Related