1 / 17

Introduction to Safety Engineering

Introduction to Safety Engineering. Papis Wongchaisuwat Department of Industrial Engineering Kasetsart University. ความเป็นมาในการป้องกันอุบัติเหตุและความปลอดภัย. ประเทศอังกฤษ หลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18 มีผลให้เกิดโรงงานปั่นทอขนาดใหญ่ ใช้แรงงานจำนวนมาก

keaira
Télécharger la présentation

Introduction to Safety Engineering

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Introduction to Safety Engineering Papis Wongchaisuwat Department of Industrial Engineering Kasetsart University

  2. ความเป็นมาในการป้องกันอุบัติเหตุและความปลอดภัยความเป็นมาในการป้องกันอุบัติเหตุและความปลอดภัย ประเทศอังกฤษ • หลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18 มีผลให้เกิดโรงงานปั่นทอขนาดใหญ่ ใช้แรงงานจำนวนมาก • เด็กยากจนหรือกำพร้าต้องทำงานหนักภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ขาดสุขอนามัย • นักเขียนชื่อ Engels ได้บันทึกสภาพของคนในเมือง Manchester มีคนงานที่ได้รับอุบัติเหตุจนกระทั่งกลายเป็นผู้พิการจำนวนมาก • รัฐบาลประเทศอังกฤษจึงได้ออกกฎหมายโรงงานขึ้นมาบังคับใช้

  3. ประเทศฝรั่งเศส • Louis Rene Villerme ได้บันทึกไว้ว่า เด็กอายุ 6-8 ปี ต้องยืนทำงานวันละ 16-18 ชั่วโมง ไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม • ในระหว่างนั้นได้มีผู้นำในอุตสาหกรรมพยายามต่อสู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน ให้มีสุขภาพอนามัยในโรงงานที่ดีขึ้น • จนกระทั่งปี ค.ศ. 1867 Engel Dollful จึงได้ก่อตั้งสมาคมป้องกันอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นที่เมือง Mulhouse • กฎหมายคุ้มครองความปลอดภัยคนงานถูกตราขึ้นในปีค.ศ.1893

  4. ประเทศเยอรมัน • ปี ค.ศ. 1839 ได้มีกฎหมายเกี่ยวกับการจ้างแรงงานเด็ก • ปี ค.ศ. 1845 ได้มีกฏหมายว่าด้วยการต้องมีพนักงานตรวจสอบโรงงานโดยรัฐบาล สำหรับเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรม • ปี ค.ศ. 1869 ได้ออกกฎหมายว่าด้วยการป้องกันคนงานให้ปลอดภัยจากโรคทางอุตสาหกรรม • ปี ค.ศ. 1884 ได้มีกฏหมายเกี่ยวกับการประกันภัยในโรงงานและกฏหมายที่ว่าด้วยการร่วมเสียค่ารักษาพยาบาลได้นำออกใช้จนกระทั่งทุกวันนี้

  5. ประเทศสหรัฐอเมริกา • ค.ศ. 1860 รัฐแมสซาซูเสทส์ ได้ออกกฏหมายว่าด้วยการมีเจ้าหน้าที่จากรัฐบาลสามารถตรวจสอบโรงงานโดยไม่จำเป็นต้องมีคำร้องเรียนจากคนงาน • ค.ศ. 1877 รัฐแมสซาซูเสทส์ เป็นรัฐแรกที่ได้ออกกฏหมายเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุในโรงงาน • ค.ศ. 1948 มีกฎหมายเงินทดแทนครบทุกรัฐ • ค.ศ. 1913 มีสภาแห่งชาติด้านความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม(สภาความปลอดภัยแห่งชาติ)

  6. ประเทศไทย • มีการเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจแบบเกษตรมาสู่อุตสาหกรรม มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเทคนิคในการผลิต พนักงานยังขาดความรู้ความสามารถทำให้ประสบอันตรายจากการทำงานและโรคที่เกิดจากการทำงาน • ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2462 ประเทศไทยได้ร่วมเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การกรรมกรระหว่างประเทศ (ILO , International Labour Oganization) • ในปี พ.ศ. 2470 รัฐบาลไทยจึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อพิจารณากฎหมายอุตสาหกรรม เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของคนงาน

  7. ประเทศไทย(ต่อ) • ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2482 ซึ่งกำหนดมาตรฐานของการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขอนามัยของลูกจ้าง • ต่อมามีการปรับแก้ไขพระราชบัญญัติโรงงานต่อเนื่อง จนปัจจุบันประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2535 • มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย • พ.ศ. 2525 จัดตั้งคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ

  8. หน่วยงานราชการรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยหน่วยงานราชการรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัย • กระทรวงอุตสาหกรรม - พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2535 - พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 • กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม - พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535

  9. ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำงานที่ปลอดภัย • เป็นแรงจูงใจและผลผลิตเพิ่มขึ้น คนงานรู้สึกปลอดภัย ทำงานได้ดีรวดเร็วมากขึ้น • ต้นทุนการผลิตลดลง • กำไรมากขึ้น • สงวนทรัพยากรมนุษย์แก่ประเทศชาติ • ลดปัญหาสังคมและปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม • สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กรและประเทศชาติ

  10. ความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุ

  11. ความสูญเสียทางตรง จำนวนเงินที่ต้องจ่ายอันเกี่ยวเนื่องกับผู้ได้รับบาดเจ็บโดยตรงจากการเกิดอุบัติเหตุ • ค่ารักษาพยาบาล • ค่าเงินทดแทน • ค่าทำขวัญ • ค่าทำศพ • ค่าประกันชีวิต

  12. ความสูญเสียทางอ้อม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายทางตรง • การสูญเสียเวลาในการทำงาน • ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม • การสูญเสียวัตถุดิบ • ค่าสวัสดิการและค่าจ้างของผู้บาดเจ็บ • การสูญเสียโอกาสในการทำกำไร • ค่าเช่า ค่าไฟฟ้าน้ำประปา • การเสียชื่อเสียงและภาพพจน์ของโรงงาน

  13. กรณีศึกษา • จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดโครงการสวดมนต์เฉลิมพระเกียรติ 80 ความดีเฉลิมพระเกียรติ โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเชื่อมโยงสายมงคลไปตามถนนและเสาไฟฟ้าไปยังอำเภอ ตำบล หมู่บ้านและบ้านเรือนประชาชน • เกิดเหตุการณ์ไฟฟ้าดูด • ทุพภาพ(มือขาดทั้งสองข้าง) จากอุบัติเหตุไฟฟ้าช๊อต

More Related