1 / 18

บทที่ 3 ส่วนประกอบของ รายได้ประชาชาติ

บทที่ 3 ส่วนประกอบของ รายได้ประชาชาติ. ส่วนประกอบรายได้ประชาชาติ. รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย C+I+G+X-M หรือความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Desire Aggregate Expenditure) หรือ DAE = C+I+G+X-M

kedma
Télécharger la présentation

บทที่ 3 ส่วนประกอบของ รายได้ประชาชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ http://www.ssru.ac.th

  2. ส่วนประกอบรายได้ประชาชาติส่วนประกอบรายได้ประชาชาติ รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย C+I+G+X-M หรือความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Desire Aggregate Expenditure) หรือ DAE = C+I+G+X-M ความต้องการจ่ายไม่จำเป็นต้องเท่ากับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง การลงทุนผู้ผลิตลงทุนแต่ถ้าคนไม่มีเงินซื้อผู้ผลิตลงทุนก็ขายไม่ออก http://www.ssru.ac.th

  3. ส่วนประกอบรายได้ประชาชาติส่วนประกอบรายได้ประชาชาติ จากการคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายจ่าย GDP = C+I+G+X-M DAE = C+I+G+X-M C เป็นองค์ประกอบของรายจ่ายประชาชาติที่มีมากที่สุด(แล้วแต่สภาวการณ์เศรษฐกิจ) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค 1. รายได้ 2. อัตราภาษี 3. อัตราดอกเบี้ย 4. สภาพคล่องทางทรัพย์สิน 5. การคาดคะเนราคาและรายได้ 6. การโฆษณา 7. ค่านิยม นักเศรษฐศาสตร์สนใจ ความสัมพันธ์การบริโภคกับรายได้ C = ƒ (y, A1 ,A2 ,….) http://www.ssru.ac.th

  4. ทฤษฎีการบริโภค เคนส์ : C = ƒ ( Yd ) Keynesian Consumption Function C = Ca + b Yd C = การบริโภค Ca = การบริโภคไม่ขึ้นกับรายได้ b = การบริโภคที่เปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้เปลี่ยนไป Yd = รายได้สุทธิส่วนบุคคล Yd = 0 , C = Ca เช่น C = 8 + 0.5 Yd http://www.ssru.ac.th

  5. ในกรณีระบบเศรษฐกิจแบบปิด 2 ภาค Yd =C+S S = ƒ( Yd ) S = Yd – C = Yd – ( Ca + b Yd) = (1-b) Yd - Ca S = - Ca + (1-b) Yd http://www.ssru.ac.th

  6. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและการออมกับรายได้ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและการออมกับรายได้ APC= Average Propensity To Consume MPC = Marginal Propensity To Consume APS= Average Propensity To Save MPS = Marginal Propensity To Save ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค(APC) = ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม(APC) = ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค(MPC) = ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม(MPS) = http://www.ssru.ac.th

  7. ตารางการบริโภค และการออม เส้นการบริโภค และการออม การบริโภคผันแปรทางด้านเดียวกับรายได้ การเปลี่ยนแปลงการบริโภค และระดับการบริโภค C < Y < < 1 ดังนั้น b < 1 > 1 ดังนั้น b > 0 http://www.ssru.ac.th

  8. กฎเคนส์ 1. APC > 1 และ APS ติดลบ 2. MPC < 1 เมื่อรายได้เพิ่ม APC มีค่าลดลง 3. MPC + MPS = 1 4. MPC ณ. ระดับรายได้สูงจะมีค่าต่ำกว่า MPC ณ. ระดับรายได้ต่ำ MPC คนรวยมากกว่าคนจน ทั้งหมดอยู่บนข้อสมมุติ การบริโภคขึ้นอยู่กับรายได้อย่างเดียว http://www.ssru.ac.th

  9. กฎเคนส์ C = Yd Break – Even Point (APC = 1) C > Yd (APC > 1) C < Yd (APC < 1) โจทย์ กำหนดให้ MPC = 0.6 ถ้ารายได้ใช้จ่ายได้เท่ากับศูนย์ และการบริโภคเท่ากับ 100 หารายได้ที่จุด Break Even Point และหาค่าการบริโภคและการออม และค่า APC และ APS ณ.ระดับรายได้ที่ใช้จ่ายได้ = 500 ล้านบาท http://www.ssru.ac.th

  10. กฎเคนส์ วิธีทำC = Ca+ bYd = 100+ 0.6 Yd รายได้บุคคล ณ.จุด Break – Even PointC = Yd 100+ 0.6 Yd = Yd Yd - 0.6 Yd = 100 (1 – 0.6) Yd = 100 Yd = = = 250 รายได้ ณ. จุด Break Even Point = 250 จาก Yd = 500 C = 100+0.6 (500) รายได้ที่ใช้จ่ายได้ 500 C = 400 จาก S = Yd – C = 500 – 400 = 100 APE = = = APS = = = http://www.ssru.ac.th

  11. การออม Yd = C + S , S = Yd – C S = Yd – (Ca + bYd ) = Yd – Ca - bYd = -Ca + Yd –bYd = - Ca + (1-b) Yd ให้ S = 1 – b และ Sa = -Ca ดังนั้น S =Sa+ SYd จาก S = -Ca – (1-b) Yd (MPC + MPS = 1 MPC = 1-MPS http://www.ssru.ac.th

  12. การลงทุน การลงทุน หมายถึงการใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์ สำคัญ คือ ทำให้การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น การซื้อหุ้นเก่า ซื้อที่ดินเก็งกำไร สินค้าเครื่องจักรมือสองไม่ถือเป็นการลงทุน เพราะมิได้ทำให้ทรัพย์สินประเภททุน ในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ถือเป็นการลงทุนทางการเงิน ปัจจัยกำหนดการลงทุน 1. กำไรที่คาดว่าจะได้รับ 2. รายได้ประชาชาติ 3. การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี 4. อัตราดอกเบี้ย 5. นโยบายของรัฐบาล I = ƒ (B1, B2, ….) http://www.ssru.ac.th

  13. ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนกับรายได้ประชาชาติความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนกับรายได้ประชาชาติ การลงทุนแบ่งได้ 2 ประเภท 1. การลงทุนอัตโนมัติ หรือไม่ขึ้นกับรายได้ 2. การลงทุนขึ้นกับรายได้ การเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน และการเปลี่ยนแปลงการลงทุน การเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน (Change) หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ระดับการลงทุน เนื่องจากรายได้ แต่ตัวกำหนดการลงทุนอื่นๆไม่เปลี่ยน การเปลี่ยนแปลงการลงทุน (Shift) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของ ตัวกำหนดการลงทุนอื่นเปลี่ยน แต่รายได้ไม่เปลี่ยน เมื่อเปรียบเทียบการลงทุนกับการบริโภค การบริโภคมีเสถียรภาพ มากกว่าการลงทุน เพราะการลงทุนขึ้นอยู่กับปัจจัยล้วนแต่ไม่แน่นอน http://www.ssru.ac.th

  14. การใช้จ่ายของรัฐบาล (G) 1. รายจ่ายของรัฐบาลแบ่งได้ 1.1 รายจ่ายเงินเดือนรัฐบาล 1.2 รายจ่าเพื่อซื้อสินค้าและบริการ 1.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุนภาครัฐบาล – การพัฒนาประเทศ – การส่งเสริมการลงทุน 2. รายจ่ายเงินโอนของรัฐบาล ได้แก่ เงินเงินสงเคราะห์ เงินสวัสดิการ ฯลฯ เงินโอนไม่ได้เป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติโดยตรง แต่มีผลโดยอ้อมเมื่อเงินโอน เพิ่มขึ้น เงินได้ของประชาชนก็เพิ่มขึ้น ทำให้การบริโภคเพิ่มขึ้น http://www.ssru.ac.th

  15. ตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาลตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล 1. ความจำเป็นในการใช้จ่าย เป็นตัวกำหนดการใช้จ่ายตั้งงบรายจ่ายก่อนหารายได้ภายหลัง 2. นโยบายของรัฐบาล ถ้าต้องการให้เศรษฐกิจขยายตัว ใช้นโยบายขาดดุล ค่าใช้จ่ายรัฐบาลขึ้นอยู่กับ 2 ประเภทที่กล่าวไม่ได้ขึ้นอยู่กับรายได้ประชาชาติ การเปลี่ยนแปลง G ถ้ารัฐบาลจำเป็นต้องใช้จ่ายมากขึ้น วางแผนหารายได้รับมาใช้จ่ายถ้ารัฐบาลใช้นโยบายหดตัว โดยลดการใช้จ่ายลง http://www.ssru.ac.th

  16. ตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาลตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล การเปลี่ยนแปลง G ถ้ารัฐบาลจำเป็นต้องใช้จ่ายมากขึ้น วางแผนหารายได้รับมาใช้จ่ายถ้ารัฐบาลใช้นโยบายหดตัว โดยลดการใช้จ่ายลง สินค้าออก (X) สินค้าออก เป็นคัวแปรไม่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติของประเทศเราถ้ารัฐบาลส่งเสริมสินค้าออก เช่น ลดภาษี การส่งออกก็เพิ่มขึ้นถ้าราคาสินค้าออก ของเราสูงกว่าประเทศอื่น การส่งออกก็ลดลง http://www.ssru.ac.th

  17. ตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาลตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล สินค้าเข้า (M) การสั่งสินค้าเข้าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประเภท ได้แก่รายได้ อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อ คุณภาพสินค้าเข้า การเปลี่ยนการนำเข้า Change คือการรายได้เปลี่ยน ตัวกำหนดอื่นคงที่ Shift คือ ตัวกำหนดอื่นเปลี่ยน รายได้คงที่ การส่งออกสุทธิ Net Export X – M > 0 เงินไหลเข้า X – M < 0 เงินไหลออก สรุป GDP = C + I + G + X -M http://www.ssru.ac.th

  18. http://www.ssru.ac.th

More Related