1 / 57

แผนพัฒนาโรงพยาบาล

แผนพัฒนาโรงพยาบาล. "บริการฉับไว ไร้ความแออัด". โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. 27 มีนาคม 2549. “ เป็นโรงพยาบาลตติยภูมิที่มีคุณภาพ เน้นความเป็นเลิศด้านการบริการ เป็นที่ยอมรับของประชาชน ”. 1. จัดบริการรักษาพยาบาล ส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพ และป้องกันโรคตามมาตรฐานวิชาชีพ

Télécharger la présentation

แผนพัฒนาโรงพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาโรงพยาบาล "บริการฉับไว ไร้ความแออัด" โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา 27 มีนาคม 2549

  2. เป็นโรงพยาบาลตติยภูมิที่มีคุณภาพ เน้นความเป็นเลิศด้านการบริการ เป็นที่ยอมรับของประชาชน ”

  3. 1. จัดบริการรักษาพยาบาล ส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพ และป้องกันโรคตามมาตรฐานวิชาชีพ 2. พัฒนาขยายเครือข่ายบริการสุขภาพเชิงรุก และมุ่งเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 3. พัฒนาบุคลากรด้านสมรรถนะ ให้มีศักยภาพเปี่ยมด้วยขวัญและกำลังใจ 4. จัดระบบบริหารทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาการใช้เทคโนโลยี และสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพ

  4. การพัฒนาไปสู่โครงการ บริการฉับไว ไร้ความแออัด

  5. วัตถุประสงค์ ระยะสั้น 1. อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยนอกลดลง 2. อัตราความพึงพอใจที่แผนกผู้ป่วยนอก มากกว่า ร้อยละ 80 3. จำนวนข้อร้องเรียนลดลงมากกว่าร้อยละ 20 ระยะเวลารอคอยลดลงจากเดิม ในแต่ละจุด บริการมากกว่าร้อยละ 20

  6. วัตถุประสงค์ ระยะยาว 1. ปริมาณผู้ป่วยประเภท Primary รับบริการ ที่ PCU และศูนย์แพทย์เพิ่มขึ้น 2. อัตราผู้ป่วยที่รับส่งต่อจาก PCU ศูนย์แพทย์ รพ.อำเภอ ลดลง 3. อัตราการเจ็บป่วยของผู้มารับบริการด้วย โรคที่ป้องกันได้ลดลง

  7. สถานการณ์จำนวนผู้ป่วยนอกที่มาใช้บริการสถานการณ์จำนวนผู้ป่วยนอกที่มาใช้บริการ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาและเครือข่าย

  8. จำนวนผู้ป่วยนอกที่มาใช้บริการโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาจำนวนผู้ป่วยนอกที่มาใช้บริการโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

  9. กิจกรรมการใช้บริการ (ครั้ง) ทั้งในและนอกเครือข่าย ณ สถานีอนามัย, ศูนย์แพทย์และโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2546 – 2548

  10. อัตราการใช้บริการ (ครั้ง/วัน/แห่ง): 2528-2547(แยกศูนย์แพทย์ฯ & ศูนย์เวชฯ ออกจาก สอ.) จำนวนครั้ง/วัน/แห่ง ข้อสังเกต ศูนย์แพทย์ฯ รองรับคนไข้ได้มากเกือบเท่า รพช. แต่จำนวนคนไข้ รพศ. ไม่ลดลง รพศ. รพช. ศูนย์แพทย์ฯ & ศูนย์เวชฯ สอ.

  11. กิจกรรมการใช้บริการ (ครั้ง) ทั้งในและนอกเครือข่าย รวมทั้งหมด เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2546 – 2548 5.53% 18.13%

  12. กิจกรรมการใช้บริการ (ครั้ง) ทั้งในและนอกเครือข่าย โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2546 – 2548 13.89% 24.29%

  13. กิจกรรมการใช้บริการ (ครั้ง) ทั้งในและนอกเครือข่าย ณ สถานีอนามัย+ศูนย์แพทย์ เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2546 – 2548 11.84% -3.96%

  14. อัตราการใช้บริการผู้ป่วยนอกของสถานีอนามัย / ศูนย์แพทย์ (ทุกสิทธิ) เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2546 -2548 จากตารางจะเห็นได้ว่า ปีงบประมาณ 2547 อัตราผู้ใช้บริการทุกสิทธิ ณ สถานีอนามัยและศูนย์แพทย์เพิ่มขึ้นจากปี 2546 คือ = 1.44 และ 3.04 ครั้ง / คน / ปีตามลำดับ แต่ในปีงบประมาณ 2548 อัตราผู้ใช้บริการ ณ สถานีอนามัยและศูนย์แพทย์ ลดน้อยลงจากปีงบประมาณ 2547 คือเป็น 1.41 และ 2.76 ครั้ง / คน / ปีตามลำดับ ส่วนของโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา อัตราผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นตลอด จากปี 2546 – 2548 คือ เท่ากับ 1.31 , 1.92 และ2.18 ครั้ง / คน / ปีตามลำดับ

  15. ผู้ป่วยนอกของ รพ. มาสถานบริการ(ครั้ง) คนใหม่ในปี(เครือข่าย) ประเภทสิทธิ 1.ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2.ประกันสังคม 3.UC บัตรทองไม่มี ท 4.UC บัตรทองมี ท 5.แรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน 6.อื่นๆ(ต่างด้าวไม่ขึ้นทะเบียน, สิทธิไม่ชัดเจน,ไม่ใช้สิทธิ) รวมผู้มารับบริการ(1-6) ใน 17877 18704 10771 13876 202 52024 113454 นอก 0 622 5748 7733 110 1746 15959 รวม 17877 19326 166519 21609 312 53770 129413 ใน 75741 59738 43546 56774 661 92919 329379 นอก 0 941 15285 21652 193 3089 41160 รวม 75741 60679 58831 78426 854 96008 370539

  16. สถิติผู้มารับบริการแยกอำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2548 อุทัย เสนา ผักไห่ ภาชี ท่าเรือ บางบาล วังน้อย บางซ้าย อยุธยา บางไทร มหาราช บ้านแพรก บางปะอิน นครหลวง บางปะหัน ลาดบัวหลวง

  17. จำนวนครั้งบริการผู้ป่วยนอกแยกรายตำบล ของอำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2548 ไผ่ลิง กะมัง หัวรอ วัดตูม ลุมพลี หันตรา บ้านรุน ประตูชัย บ้านใหม่ สวนพริก ภูเขาทอง บ้านเกาะ ปากกราน เกาะเรียน สำเภาล่ม ท่าวาสุกรี บ้านป้อม คลองสระบัว คลองสวนพลู หอรัตนไชย คลองตะเคียน

  18. จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง แยกรายอำเภอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2548 อุทัย ภาชี ผักไห่ เสนา ท่าเรือ วังน้อย บางบาล บางซ้าย อยุธยา บางไทร บ้านแพรก บางปะอิน นครหลวง บางปะหัน มหาราช ลาดบัวหลวง

  19. จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง แยกรายตำบล อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2548 ลุมพลี หัวรอ บ้านรุน ท่าวาสุกรี กระมัง สวนพริก บ้านป้อม หันตรา วัดตูม ไผ่ลิง บ้านเกาะ สำเภาล่ม บ้านใหม่ ประตูชัย เกาะเรียน ปากราน ภูเขาทอง หอรัตนไชย คลองสวนพลู คลองสระบัว คลองตะเคียน

  20. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน แยกรายอำเภอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2548 อุทัย ภาชี ผักไห่ เสนา ท่าเรือ วังน้อย บางบาล บางซ้าย อยุธยา บางไทร บ้านแพรก บางปะอิน บางปะหัน มหาราช นครหลวง ลาดบัวหลวง

  21. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน แยกรายตำบล อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2548 หัวรอ หันตรา วัดตูม บ้านรุน ไผ่ลิง ประตูชัย เกาะเรียน ลุมพลี ท่าวาสุกรี ปากราน สวนพริก กระมัง สำเภาล่ม บ้านเกาะ บ้านใหม่ คลองสวนพลู บ้านป้อม ภูเขาทอง คลองสระบัว หอรัตนไชย คลองตะเคียน

  22. สรุปสถิติ การรับ Refer (ทุกสิทธิ) ของโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2546 - 2548 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2548 ศูนย์เวชฯ มีแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว 2 คน มาปฏิบัติงาน ทำให้ รพ.พระนครศรีอยุธยา มีอัตราของ การรับ Refer ภายใน CUP ลดลง

  23. อัตราการการครองเตียงและอัตราผู้ป่วยต่อเตียง โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2546 – 2548

  24. กลุ่มโรคที่พบบ่อยเรียงจากมากไปหาน้อยใน 5 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2549 (ต.ค.- ธ.ค.48) (โรค) ระบบทางเดินหายใจ ระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบต่อมไร้ท่อโภชนาการ และเมตาบอลิซึม ระบบกล้ามเนื้อ โครงร่างและเนื้อยึดเสริม (ราย)

  25. กลวิธีการดำเนินงาน การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิของอำเภอพระนครศรีอยุธยา

  26. การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ ของอำเภอพระนครศรีอยุธยา โครงสร้างทีมบริหารจัดการระดับอำเภอ โรงพยาบาลศูนย์พระนครศรีอยุธยา สสจ. ศูนย์ประสานเครือข่ายปฐมภูมิ อ.อยุธยา / เวชกรรมสังคม (คณะกรรมการ Core Team PCU) เทศบาลนครฯ/เทศบาลเมือง สสอ.พระนครศรีอยุธยา คณะทำงาน Core Team PCU Manager พื้นที่พิเศษ (เรือนจำ/ทัณฑสถาน 4 แห่ง) ในเขตเทศบาล ในเขตเทศบาล ศูนย์เวช ศูนย์แพทย์ป้อมเพชร ศูนย์แพทย์ สสจ. สอ.บ้านใหม่ สอ.บ้านป้อม สอ.ภูเขาทอง สอ.ลุมพลี สอ.คลองสระบัว สอ.สวนพริก สอ.บ้านเพนียด สอ.วัดตูม สอ.คลองตะเคียน สอ.สำเภาล่ม สอ.บ้านรุน สอ.ปากกราน สอ.เกาะเรียน สอ.คลองสวนพลู สอ.วัดพระญาติฯ สอ.ไผ่ลิง สอ.หันตรา สอ.บ้านเกาะ ศบท.กองฯ ศบท.วัดกล้วย ศูนย์แพทย์วัดอินฯ ศูนย์แพทย์วัดตึก

  27. ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว

  28. ศูนย์แพทย์ชุมชน

  29. กระบวนการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพ Hospital Accreditation ได้รับใบประกาศ วันที่ 9 มีนาคม 2548

  30. กระบวนการพัฒนาคุณภาพ กระบวนการพัฒนา PCU และศูนย์แพทย์ (HCA) พัฒนาคุณภาพศูนย์สุขภาพชุมชนในเครือข่าย(Health Center Acceditation) ปี 2548 ผ่านการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐาน 10 แห่ง จาก 22 แห่ง ปี 2549 เป้าหมาย 100 % กิจกรรม 1. PCU ประเมินตนเองและพัฒนาส่วนขาด 2. ติดตาม นิเทศ และประเมินตามเกณฑ์ 3. พัฒนาบุคลากร และวิชาการ / Case Study แต่ละ PCU 4. ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อ PCU = 82.65% แผนปี 2549 • จัดทำ KM ให้แก่บุคลากร PCU 2 ครั้ง / ปี • นำเสนอนวัตกรรมของแต่ละ PCU

  31. การพัฒนาระบบบริการ การพัฒนาระบบนัดที่งานผู้ป่วยนอก • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ป่วยเฉพาะโรคได้รับความสะดวกในการนัด • มาพบแพทย์เฉพาะทาง • 2 เพื่อลดการแออัดผู้ป่วยนอก • 3 เพื่อเป็นการกระจายการส่งต่อผู้รับบริการไปสถาน • บริการใกล้บ้าน • ผลลัพธ์ อัตราการขาดนัดร้อยละ 14

  32. มี Request ต่างๆ Admit การพัฒนาระบบบริการ การพัฒนาระบบนัดที่ OPD ใบนัดจากผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน ตรวจแผนกห้องตรวจต่าง ๆ รับการซักประวัติ อาการที่สำคัญ รับเบอร์คิว แพทย์แต่ละสาขา รับบริการทำ Request ต่างๆ ในแผนกที่เกี่ยวข้อง เช่น Lab, X-ray y N รอพบแพทย์ y รับบริการอื่น ผู้ป่วยใน N รับคำแนะนำหลังการตรวจ รับการลงทะเยียนนัดครั้งต่อไป

  33. การพัฒนาระบบการส่งต่อการพัฒนาระบบการส่งต่อ การรับ Refer/Consult รับ Refer Case ติดต่อประชาสัมพันธ์ 0-3532-2555 หรือ 0-3521-1888 กด 0 ตามแนวทางของแต่ละ PCT ถ้าติดต่อไม่ได้ใน 30 นาที ให้แพทย์ ER รับแทน Center แต่ละสาขา รพศ. ประสาน รพ.เสนา รพช. ช่วยติดต่อ รพ.อื่น สสจ. เพิ่มเครือข่าย Refer พิจารณา Refer ไม่รับ Refer รับ Refer • รพช.ส่งผู้ป่วยที่ Ward (Non-Investigation) • ER ส่งผู้ป่วยที่ Ward (Investigation) 1. CenterER เตรียมรับ 2. รพช.ประสานงาน ER

  34. การพัฒนาระบบการส่งต่อการพัฒนาระบบการส่งต่อ การวิเคราะห์การลดอัตราการครองเตียง พัฒนาการ พัฒนาการ Clear เตียง ward Admit ที่ ER ควร Refer กลับ พิเศษ รายงานแพทย์ Staff วิเคราะห์ดูแลผู้ป่วย · รพช . ระบุเวลากลับบ้านภายใน 13.00 ทราบ นอนนาน Los E R น . เบิก observe · แพทย์ Round ก่อน 11.00 ward ผู้ป่วยนอนนอน · แพทย์ D/C ก่อน 1 วัน 20 เตียง · ไม่เซ็นอนุมัติกรณีนอนเกิน 13 วัน Admit มาก · Ward พิเศษ 2,3 ควรใช้ให้ OPD ควร เกินไป คุ้มค่า Admit ผ่าน อัตราการครองเตียง แพทย์เฉพาะทาง เกิน 100% ทุกราย การบริหารเตียงขณะเตียงเต็ม ระบบการ D/C ระบบ clea r เตียงล่วงหน้า · ICU 1 2  · อายุรกรรมหญิง · อายุรกรรมชาย พัฒนาระบบการ D/C ผู้ป่วยให้เร็วก่อนเที่ยง · ศัลยกรรมหญิง แพทย์ / พยาบาล / เภสัช · ศัลยกรรมชาย · พิเศษ

  35. การพัฒนาระบบการส่งต่อการพัฒนาระบบการส่งต่อ การRefer กลับ รพช. Case Refer กลับ รพช. • จัดอุปกรณ์ เครื่องมือ ยาเวชภัณฑ์ให้ • เหมาะสมในการดูแล • การให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติ แผนก เตรียมความพร้อมผู้ป่วย+ญาติ • แผนการดูแลต่อเนื่อง เฉพาะโรค • เชิญมาสาธิต / ฝึกปฏิบัติจริง • ข้อจำกัดในการดูแลผู้ป่วยของ รพช. ประสาน รพช.เพื่อให้ข้อมูล ประเมินร่วมกันปฏิบัติได้ N ไปประเมินความพร้อม อุปกรณ์ ทักษะ ให้สามารถดูแลได้ Y ส่งผู้ป่วยกลับ รพช.(ภายใน 24 ชม ).

  36. การบริการแพทย์แผนไทย เสริมทางเลือกบริการในชุมชน - แพทย์แผนไทย - การนวดการใช้สมุนไพร

  37. การบริการแพทย์แผนไทย ผลการดำเนินงาน การส่งเสริมการนวดแผนไทย ระยะเวลา นวดรักษา นวดเพื่อสุขภาพ นวดเท้า นวดประคบ (คน) (คน) (คน) (คน) ปี 2548 3,169 162 392 3,074 1,226 35 159 1,196 ตุลาคม-ธันวาคม 2548 รายได้ กิจกรรม นวดรักษา นวดเพื่อสุขภาพ นวดเท้า นวดประคบ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ปี 2548 47,868.50 722,127.00 226,198.00 1,044,370.50 4,700.00 291,650.00 186,766.00 447,146.00 ตุลาคม-ธันวาคม 2548

  38. การเพิ่มศักยภาพการดูแล โรคเรื้อรัง เพิ่มศักยภาพของ PCU และศูนย์แพทย์ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น DM การออกกำลังกาย • การออกกำลังสม่ำเสมอมีผล ทำให้ควบคุมน้ำตาลได้ดี สถานอนามัยบ้านใหม่ • โครงการรำไม้พลอง ป้าบุญมี • สัปดาห์ละ 3 วัน • อังคาร-พฤหัส-เสาร์ • เวลา 17.00-18.30น. • สมาชิกประมาณ 20 ราย

  39. การเพิ่มศักยภาพการดูแล โรคเรื้อรัง • โครงการเล่นเปตอง จัดทุกวัน 16.00 – 19.00 น.สมาชิกประมาณ 20 คน ผลลัพธ์ ปี 2549 ปี 2548 - ผู้ป่วยเบาหวานได้เข้า ร่วมการออกกำลังกาย ร้อยละ 75 ร้อยละ 45 ร้อยละ 45 ร้อยละ 76 - ผู้ป่วยเบาหวาน คุมระดับน้ำตาลได้ดี (< 140)

  40. การเพิ่มศักยภาพการดูแล โรคเรื้อรัง การถ่ายทอดความรู้โภชนาการ • โครงการแนะนำอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน • การนำกรณีโรคมากระตุ้นพฤติกรรมการรับประทานอาหาร กลวิธี • ให้สุขศึกษารายกลุ่ม • ให้ความรู้รายบุคคล ปี 2549 ปี 2548 ผลลัพธ์ • ผู้ป่วยมีความรู้ด้านโภชนาการ ร้อยละ 42 ร้อยละ 66

  41. การเพิ่มศักยภาพการดูแล โรคเรื้อรัง คลินิกเบาหวาน ชุมชนบ้านใหม่ องค์กรส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการจัดซื้อยาเบาหวาน PCU บ้านใหม่ ปีงบประมาณ2548 จำนวน 92,400 บาท แผนปีงบประมาณ 2549 ประมาณ 70,000 บาท

  42. การเตรียมการพัฒนา ไปสู่ โครงการ บริการฉับไว ไร้ความแออัด

  43. โครงการลดผู้ป่วยนอก รพ.อยุธยา ระยะที่ 1 วันที่ 1 พฤษภาคม – 30 กันยายน 2549 การดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการให้เป็นการบริการครบวงจรที่ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว (บุคลากร ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล และทีมเจ้าหน้าที่) สามารถบริการตรวจ Lab เบื้องต้น, X-Ray การพัฒนาระบบนิเทศ โดย PCU Manager ให้มีประสิทธิภาพใน ศูนย์แพทย์ต่างๆ และสถานีอนามัย ระยะที่ 2 วันที่ 1 ตุลาคม 2549 ขยายจุดบริการปฐมภูมิครบวงจร ไปยังจุดบริการแห่งใหม่ (Excellent PCU)

  44. การขยายจุดบริการปฐมภูมิการขยายจุดบริการปฐมภูมิ

  45. ด้านอื่นๆ • การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ความเข้าใจระบบบริการปฐมภูมิ • พัฒนาระบบนัดแยกให้ชัดเจนในการเข้าคลินิก ปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ • พัฒนาระบบ IT เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการควบคุมกำกับและประเมินผล (Monitoring & Evaluation) จำนวนคนไข้ที่ เพิ่มขึ้น หรือ ลดลง แยกตามพื้นที่ที่รับผิดชอบของเครือข่ายหรืออำเภอ • เพิ่มศักยภาพของผู้ให้บริการ (พัฒนาองค์ความรู้)

  46. รายละเอียดการดำเนินการรายละเอียดการดำเนินการ

  47. การกำหนดจุดบริการหลักในศูนย์เวชฯ จะเปิดทำการคลินิกครบวงจร สำหรับผู้ป่วยโรคทั่วไป โดยมีบริการ 1. จัดระบบส่งตรวจเลือด 2. ถ่ายเอ็กซเรย์ได้ CXRและตรวจ EKG 3. ห้องตรวจโดยขีดความสามารถจะรับผู้ป่วยนอกประมาณ 200 – 260 คน โดยแบ่งช่วงเวลาดังนี้ - 08.30 – 12.00 น. เปิดบริการ 3 ห้อง ประมาณผู้ป่วย 200 คน -13.00 – 16.30 น. เปิดบริการ 1 ห้อง ประมาณผู้ป่วย 60 คน -16.30 – 20.00 น. เปิดบริการ 1 ห้อง ประมาณผู้ป่วย 60 คน

  48. ผลที่คาดว่าจะได้รับในระยะแรกผลที่คาดว่าจะได้รับในระยะแรก การลดปริมาณผู้ป่วยนอกที่ รพ.อยุธยา ปริมาณผู้ป่วยที่ลดลง ร้อยละ ช่วงเช้า 8.30-12.00 น. 100 คน 10 ช่วงบ่าย 13.30-16.30 น. 60 คน 40 ช่วงเย็น 17.00-20.30 น. 60 คน 60

  49. - การจัดการทรัพยากรบุคคล 1 แพทย์ต้องการแพทย์เพิ่ม 1 คน 2 บุคลากรอื่น พยาบาลวิชาชีพ 1, เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 2 คน, คนผู้ช่วยเหลือคนไข้ 2 คน,, เจ้าหน้าที่ห้องบัตร 1 คน 3 เภสัชกร เนื่องจากต้องมีการใช้บัญชียาเดียวกับ OPD โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จำเป็นต้องใช้ เภสัชกรเพิ่ม 1 คน (เดิมมี 1 คน) เพื่อจะต้องดูแล ศูนย์เวช และศูนย์อื่นๆ และแพทย์แผนไทย - ระบบ Transfer Lab, X-ray ผู้ป่วยมายังโรงพยาบาลศูนย์ จะใช้วิธีการจัดหารถ Transfer

More Related