1 / 80

ระบบสื่อสารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

โดย นายภักดี ทองพุ่ม วิศวกรเครื่องกลชำนาญการ ( 7 วช.) ปฏิบัติหน้าที่ หน.ฝ่ายฝึกอบรม วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตขอนแก่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 0- 434-6571-1 / 0-8574-4479-0. ระบบสื่อสารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. อุทกภัย.

keelty
Télécharger la présentation

ระบบสื่อสารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดย นายภักดี ทองพุ่ม วิศวกรเครื่องกลชำนาญการ (7 วช.) ปฏิบัติหน้าที่ หน.ฝ่ายฝึกอบรม วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตขอนแก่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 0- 434-6571-1 / 0-8574-4479-0 ระบบสื่อสารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  2. อุทกภัย

  3. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานกลางของรัฐ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  4. DDPM คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ(กปภ.ช.) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกฯ มอบหมาย/ ประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย/รองประธาน คนที่ 1 ปลัดกระทรวงมหาดไทย/รองประธาน คนที่ 2 ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ป. กระทรวงเทคโนโลยีฯ ป. กระทรวงกลาโหม ป. กระทรวงสาธารณสุข ป. กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ผู้บัญชาการทหารบก เลขาธิการ สมช. ป. กระทรวงเกษตรฯ ผู้บัญชาการทหารเรือ ผอ.สำนักงบประมาณ ป. กระทรวงคมนาคม ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ป. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อธิบดีกรมป้องกันฯ เลขานุการ

  5. จุดประสงค์ของระบบสื่อสารจุดประสงค์ของระบบสื่อสาร • เพื่อส่งข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยเป็นที่เข้าใจ น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับกระชับชัดเจน และตรงประเด็น

  6. อุปสรรคของการสื่อสาร • ความล้มเหลวของกลไก / เครือข่าย • สถานที่ใช้งาน • การถูกแทรกแซงสัญญาณ

  7. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๑๑ ให้กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยเป็นหน่วยงานกลางของรัฐ ในการ ดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยของประเทศ

  8. แผนปฏิบัติการ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ (17 ด้าน) ด้าน การแจ้งเตือนภัย ด้าน น้ำ ด้าน ต่าง ประเทศ ด้านพิสูจน์ เอกลักษณ์บุคคลและนิติวิทยาศาสตร์ ด้าน คมนาคม ด้าน ฐานข้อมูลและสารสนเทศ ทก. (ศภช.) ทส. กต. สตช. คค. มท. ด้าน เชื้อเพลิงและพลังงาน ด้าน การศึกษา ด้าน การบริหารจัดการภัยพิบัติ ด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ด้านการประชา สัมพันธ์ และการจัดการข่าวสาร ด้าน การสื่อสาร พน. ศธ. มท. สธ. นร. (กปส.) ทก. ด้าน การบริจาค ด้าน การเกษตร ด้าน การฟื้นฟู ด้าน นิวเคลียร์และรังสี ด้าน ความมั่นคง บร. (สปน.) กษ. มท. วท. (ปส.) กห. แผนปฏิบัติการ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แบบบูรณาการ (17 ด้าน) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  9. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ ด้านการสื่อสาร มอบให้กระทรวงICT มีหน้าที่ 1. จัดเตรียมระบบสื่อสารหลัก ระบบสื่อสารรอง ระบบสื่อสารสำรอง ให้สามารถใช้งานได้ทุก สถานการณ์ 2. แจ้งเตือนภัย ให้บริการข้อมูลด้านการสื่อสาร 3. สนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการสื่อสาร จัดช่องทางการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 17 ด้าน

  10. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ ด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติ การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อม

  11. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ ด้านการระบบสื่อสาร 1. บูรณาการระบบสื่อสารให้เป็นเอกภาพ มีช่องทางการสื่อสารกลาง 2. มีระบบสื่อสารหลัก ระบบสื่อสารรอง ระบบสื่อสารสำรอง 3. ให้ สป.มท. ปภ. ปค. TOT กสทช. ทำหน้าที่เป็นศูนย์สื่อสารของ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ 4. ให้สถานีสื่อสารเขต /จังหวัด ของ สป.มท และปค เป็นศูนย์สื่อสาร กองอำนวยการบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด 5. สำหรับท้องถิ่นให้จัดตั้งศูนย์สื่อสาร การเตรียมความพร้อม

  12. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ การปฏิบัติ 1. จัดเตรียมระบบสื่อสารหลัก ระบบสื่อสารรอง ระบบสื่อสารสำรอง 2. จัดทำแผนสื่อสาร 3. ให้ มท.เป็นหน่วยงานกลางในการติดต่อสื่อสาร โดย จัดเตรียมระบบให้พร้อมตลอด 24 ชั่วโมง 4. ให้ ปภ.จัดตั้งศูนย์สื่อสาร เพื่อรองรับการเชื่อมต่อ ระบบสื่อสารทุกระบบ การเตรียมความพร้อม

  13. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ ด้านการระบบสื่อสาร 1. จัดตั้งระบบสื่อสารหลัก ระบบสื่อสารรอง ระบบสื่อสารสำรอง และระบบสื่อสารอื่นๆ ให้พร้อมใช้งานทั่วถึงทุกพื้นที่ 2. จัดตั้งศูนย์สื่อสาร และจัดทำเครือข่ายสื่อสาร ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน

  14. การติดต่อสื่อสาร หลักการปฏิบัติ ต้องกระทำตลอด 24 ชั่วโมง รวดเร็ว เชื่อถือได้ ยึดหลักการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร

  15. การเตรียมความพร้อมด้านการสื่อสารการเตรียมความพร้อมด้านการสื่อสาร • สำรวจทรัพยากรสื่อสารของหน่วยงาน (จำนวน ขนาด ชนิด สภาพการใช้งาน จุดติดตั้ง/เก็บรักษา) • จัดทำผังสื่อสาร(หน่วยงานที่ต้องติดต่อ ประสานงาน , ผู้ประสานงาน) • ลำดับการแจ้งเหตุ รายงาน ประสานงาน

  16. การรับแจ้งเหตุ การรายงานข่าว สาธารณภัย และการแจ้งเตือนภัย

  17. แผนผังโครงสร้างศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขภัยพิบัติ กระทรวงมหาดไทย NCMC คณะที่ปรึกษา ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ กระทรวงมหาดไทย ส่วนสนับสนุน - จังหวัดใกล้เคียง - มูลนิธิและองค์กร ส่วนอำนวยการ ส่วนประสาน การช่วยเหลือ ส่วนรับบริจาค และบัญชี ส่วนฟื้นฟูบูรณะ ศูนย์อำนวยการ เฉพาะกิจฯ ส่วนแยก ปภ. ปค. คค. ปภ. บก.ทท. สธ. ปภ. พม. ปค. ปภ.บก.ทท. ขน. สธ. หน่วยงานในพื้นที่ ส่วนสื่อสาร และโทรคมนาคม ส่วนปฏิบัติการ ฉุกเฉิน ส่วนการแพทย์ ฉุกเฉิน ท้องถิ่น ICT ปภ.ERT สธ.EMS ส่วนประสานองค์กร ระหว่างประเทศ หน่วยงานในพื้นที่ ส่วนอพยพ และบรรเทาทุกข์ ส่วนพิสูจน์ เอกลักษณ์บุคคล กระทรวงการต่างประเทศ สตช. ปค. ส่วนแจ้งเตือนภัย ส่วนประชาสัมพันธ์ และการสื่อสาร ส่วนรักษาความสงบ เรียบร้อยและการจราจร กรมอุตุฯ ศภช. ปภ. สตช. ปค. บก.ทท. ICTบก.ทท. สป.มท. ปภ. กรมประชาสัมพันธ์

  18. เครือข่ายด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเครือข่ายด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สมาชิก อปพร. กรมอุตุนิยมวิทยา ประชาชน อื่นๆ กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย กรมทรัพย์ฯ สื่อมวลชน ศูนย์วิทยุสื่อสาร อาสาสมัคร/นักวิทยุสมัครเล่น จนท.ตำรวจ โรงพยาบาล ร่วมกตัญญู/ปอเต็กตึ้ง นักดับเพลิง/กู้ภัย

  19. การแจ้งข่าวทางวิทยุสื่อสารการแจ้งข่าวทางวิทยุสื่อสาร

  20. ศูนย์วิทยุสื่อสาร"นิรภัย"ศูนย์วิทยุสื่อสาร"นิรภัย" 1.เป็นศูนย์ประสานงานรับรายงานและแจ้งเหตุ ตลอดจนการประสานติดตามข้อมูลสถานการณ์สาธารณภัยทุกประเภท ด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และทันต่อเหตุการณ์ 2. เป็นศูนย์ประสานเหตุทุกเครือข่ายและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยประสานและรับฟังข้อมูลข่าวสารกับศูนย์วิทยุร่วมในข่ายทุกระบบ และกรณีเกิดเหตุภัยพิบัติรุนแรง รายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อเป็นข้อมูลพิจารณาสั่งการ เพื่ออำนวยการประสานการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ

  21. มท.1 ปมท. อ.ปภ. รอง อ.ปภ. ศูนย์วิทยุสื่อสารหน่วยงาน -ศูนย์วิทยุนเรนทร กระทรวงสาธารณสุข -ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม กระทรวงคมนาคม ศูนย์วิทยุสื่อสาร ข่าย อปพร.(162.800 Mhz) ของกรุงเทพมหานคร ทั้ง 50 เขต ศูนย์วิทยุสื่อสาร “นิรภัย” ศูนย์ ปภ. ทั้ง 18 เขต ศูนย์ควบคุมข่ายวิทยุสมัครเล่น ศูนย์วิทยุสื่อสารในหน่วยงานกทม. -ศูนย์ อัมรินทร์ (ส.เทศกิจ) -ศูนย์พระราม(ดับเพลิง กทม) ศูนย์วิทยุสื่อสารอื่นๆ -โรงพยาบาลในพื้นที่ -หน่วยกู้ชีพ -ร่วมกตัญญู -ปอเต็กตึ้ง -มูลนิธิในแต่ละจังหวัด • ศูนย์วิทยุสื่อสารข่าย อปพร. • จังหวัด • อำเภอ • เทศบาล / อบต. ศูนย์วิทยุสื่อสารข่ายมวลชน -ศูนย์วิทยุ จส..100 -ศูนย์วิทยุร่วมด้วยช่วยกัน -ศูนย์วิทยุ สวพ 91 ศูนย์วิทยุสื่อสาร ข่ายอาสาสมัคร(245Mhz) -ศูนย์วิทยุชาลีกรุงเทพ CH 39 -ศูนย์วิทยุพญาอินทรีย์ CH 49 -ศูนย์วิทยุพระราม 9CH 80 -ศูนย์วิทยุหน่วยบรรเทาอื่น ฯ ศูนย์วิทยุสื่อสาร “นิรภัย” สนง.ปภ.75 จังหวัด ผังเครือข่ายศูนย์วิทยุสื่อสาร”นิรภัย” กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย สรุปข้อมูลรายงาน สำนักเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประสานงาน ระงับเหตุ สั่งการ ศูนย์วิทยุสื่อสาร”นิรภัย” ข่ายสื่อสาร กรม ปภ. (150.150 Mhz) ศูนย์วิทยุสื่อสาร”นิรภัย” ข่าย อปพร.(162.800Mhz) ข่ายอาสาสมัคร(245Mhz) ประสาน/รายงาน ประสานงาน แจ้งข่าว ปชส. ประสานงาน สนับสนุน

  22. การเชื่อมโยงระบบสื่อสารของศูนย์สื่อสาร ปภ. กลาง(กทม.) ผู้บังคับบัญชา มท.1, ปมท., อ.ปภ., รอง อ.ปภ., ผอ.ศอ. ศูนย์สื่อสารในสังกัด ปภ. -ศูนย์สื่อสาร ปภ. เขต 18 เขต -ศูนย์สื่อสาร ปภ. จังหวัด 75 จังหวัด หน่วยงานราชการอื่นๆ -ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ -กรมอุตุนิยมวิทยา -กรมชลประทาน ฯลฯ • ศูนย์สื่อสารองค์กรเอกชน • -หน่วยกู้ชีพ • -มูลนิธิร่วมกตัญญู • มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง • ศูนย์สื่อสารหน่วยงานราชการ • -ศูนย์นเรนทร • ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม • ดับเพลิง และ เทศกิจ(กทม.) ศูนย์สื่อสาร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง(กทม.) ศูนย์สื่อสารข่ายสื่อมวลชน - จส.100 - ร่วมด้วยช่วยกัน - สวพ.91 ศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. 50 สำนักงานเขตของกรุงเทพฯ ศูนย์วิทยุสื่อสารในข่ายวิทยุสมัครเล่น ประชาชนทั่วไป

  23. การเชื่อมโยงระบบสื่อสารของศูนย์สื่อสาร ปภ. เขต..... ผู้บังคับบัญชา ผู้ว่าฯ, อ.ปภ., รอง อ.ปภ. , ผอ.ศูนย์ฯ เขต ศูนย์สื่อสารในสังกัด ปภ. -ศูนย์สื่อสาร ปภ. กลาง (กทม.) -ศูนย์สื่อสาร ปภ. เขต 18 เขต -ศูนย์สื่อสาร ปภ. จังหวัดในเขตรับผิดชอบ หน่วยงานราชการในจังหวัด -จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอ -ทหาร ตำรวจ ทางหลวง -ชลประทาน ฯลฯ • ศูนย์สื่อสารองค์กรเอกชน • -หน่วยกู้ชีพ • -มูลนิธิต่างๆ • อาสาสมัคร ศูนย์สื่อสารหน่วยงานราชการ -สาธารณสุขจังหวัด -ขนส่งจังหวัด -ดับเพลิง ศูนย์สื่อสาร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต... (เขต 1-18) • สื่อมวลชน • สถานีวิทยุกระจายเสียง • AM, FM • - สถานีวิทยุวิทยุชุมชน • - สื่อสิ่งพิมพ์ ศูนย์วิทยุสื่อสารข่าย อปพร. - จังหวัด - อำเภอ - เทศบาล/อบต. ประชาชนทั่วไป ศูนย์วิทยุสื่อสารในข่ายวิทยุสมัครเล่น

  24. การเชื่อมโยงระบบสื่อสารของศูนย์สื่อสาร ปภ. จังหวัด ผู้บังคับบัญชา ผู้ว่าฯ, อ.ปภ., รอง อ.ปภ. , ผอ.ศูนย์ฯ เขต ศูนย์สื่อสารในสังกัด ปภ. -ศูนย์สื่อสาร ปภ. กลาง (กทม.) -ศูนย์สื่อสาร ปภ. เขต -ศูนย์สื่อสาร ปภ. จังหวัด หน่วยงานราชการในจังหวัด -จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอ -ทหาร ตำรวจ ทางหลวง -ชลประทาน ฯลฯ • ศูนย์สื่อสารองค์กรเอกชน • -หน่วยกู้ชีพ • -มูลนิธิต่างๆ • อาสาสมัคร ศูนย์สื่อสารหน่วยงานราชการ -สาธารณสุขจังหวัด -ขนส่งจังหวัด -ดับเพลิง ศูนย์สื่อสาร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (75 จังหวัด) • สื่อมวลชน • สถานีวิทยุกระจายเสียง • AM, FM • - สถานีวิทยุวิทยุชุมชน • - สื่อสิ่งพิมพ์ ศูนย์วิทยุสื่อสารข่าย อปพร. - จังหวัด - อำเภอ - เทศบาล/อบต. ประชาชนทั่วไป ศูนย์วิทยุสื่อสารในข่ายวิทยุสมัครเล่น

  25. คุณลักษณะที่ดีในการส่งข่าว ประกอบด้วย • ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติเกี่ยวกับการสื่อสาร พ.ศ. 2525 • ความแน่นอนหมายถึง ความถูกต้องในการรับ-ส่งข่าวสาร เพราะหากเกิดการผิดพลาดแล้วจะก่อให้เกิดความสับสนและเสียหายต่อการปฏิบัติภารกิจได้ • ความรวดเร็วหมายถึง เวลาที่จะใช้ในการรับ-ส่งข่าวและกรรมวิธีอื่น ๆ เพื่อให้ข่าวถึงผู้รับทราบและผู้ปฏิบัติได้ทันเวลา • ความปลอดภัยหมายถึง การป้องกันการส่งข่าวทั้งปวงให้พ้นจากการดักรับ การวิเคราะห์การรับ-ส่งข่าว และการวิเคราะห์ การรหัสของฝ่ายตรงข้าม

  26. จุดมุ่งหมายของการรายงาน “ข่าวภัยพิบัติ” - เพื่อช่วยเหลือ ด้วยการเตรียมการด้านการข่าว การเฝ้าระวัง ติดตามเตือนภัย การจัดเตรียมกำลังพล สิ่งอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รวมทั้งการดำเนินการทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการบรรเทาภัย และการฟื้นฟูบูรณะให้กับบุคคล อาคารสถานที่ที่ประสบภัยตั้งแต่ก่อนเกิดภัย ระหว่าง/ขณะเกิดภัย จนถึงเมื่อภัยนั้นผ่านพ้นไป เพื่อทำให้สถานการณ์กลับคืนสู่สภาวะปกติ เมื่อได้ข้อมูลข่าวสารมาแล้ว ก็จะต้องมีการรายงานให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบ มิฉะนั้นข้อมูลข่าวสารที่หามาได้ก็ไร้ค่าหรือไม่มีประโยชน์

  27. ลักษณะของข่าวที่มีคุณภาพลักษณะของข่าวที่มีคุณภาพ ข่าวสารแต่ละชิ้นจะถือว่ามีคุณภาพหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) ความถูกต้อง (Accuracy)ข่าวที่มีคุณภาพจะต้องเสนอเนื้อหาที่ถูกต้องในทุก ๆ ด้าน เช่น ข้อมูล เกี่ยวกับบุคคล เวลา สถานที่ และเหตุการณ์ เป็นต้น 2) ความสมดุล (Balance)ความสมบูรณ์ครบถ้วนของข้อมูล ข่าวที่มีคุณภาพจะต้องมีลักษณะที่ได้สมดุลกัน ระหว่างข้อเท็จจริงกับการรายงานข่าว โดยไม่เอาตัวไปพัวพันกับการเขียนข่าว 3) ความชัดเจน (Clear)ข่าวบางอย่างมีความเป็นมาอย่างสลับซับซ้อน หากเสนออย่างตรงไปตรงมา ผู้อ่านอาจไม่เข้าใจ จึงต้องมีการบรรยายหรือขยายความได้ชัดเจนยิ่งขึ้น 4) กะทัดรัด (Concise)ข่าวที่ดี จะต้องไม่เขียนเยิ่นเย้อ แต่ควรจะมีลักษณะที่กะทัดรัด ชัดเจน ตรงไปตรงมา

  28. ประเภทของการรายงาน แบ่งได้เป็น 1) รายงานด่วน เป็นรายงานข่าวสาร หรือข่าวกรองที่มีคุณค่าในทันที การ รายงานด่วน จะต้องส่งออกไปด้วยวิธีสื่อสารที่รวดเร็วที่สุด ทั้งนี้ต้องมีการรักษาความ ปลอดภัยตามความจำเป็น 2) รายงานตามวงรอบ เป็นการรายงานข่าวตามกำหนดเวลา เช่น รายงาน ประจำวัน รายงานประจำสัปดาห์ รายงานรอบ 1 เดือน หรือรายงานเป็นรอบไตรมาส โดยรูปแบบการรายงานเป็นไปตามแต่ละหน่วยงานกำหนด การ รายงานประจำวันนั้นเรื่องที่รายงานไม่ควรเป็นรายละเอียด เหมือนกับรายงานด่วนที่ รายงานไปแล้ว นอกจากกรณีที่มีการแก้ไขหรือมีรายละเอียดเพิ่มเติม 1/4

  29. ประเภทของการรายงาน แบ่งได้เป็น 3) ทันเวลา หากรายงานข่าวสารล่าช้าไม่ทันการ แม้จะถูกต้องพอเพียงก็ไม่สามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้บางครั้งข่าวสารทีถูกต้องแม้ว่าไม่ครบถ้วนทุกประเด็นก็สามารถ นำมาใช้ประโยชน์ในเบื้องต้นได้ เช่น ในการแจ้งเตือนภัยหรือเตรียมตัวรับสถานการณ์ ซึ่งผู้รายงานข่าวจำเป็นจะต้องพิจารณาเรื่องการทันต่อเวลาด้วย การรายงานนั้น ผู้รายงานต้องไม่ใส่ความคิดเห็นของตนเข้าไปในเนื้อข่าว แต่หากมี ความคิดเห็นต่อข่าวสาร หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็สามารถใส่ไว้ในรายงานได้ แต่ให้ แยกออกจากเนื้อข่าว เช่นเขียนต่อท้ายเมื่อจบข่าว และระบุว่าเป็น “ความคิดเห็นของ ผู้รายงาน” พร้อมกับเหตุผลประกอบถ้ามี 4) ใช้ประโยชน์ได้ ข่าวสารที่รวบรวมหรือรายงานนั้น จะต้องมีประโยชน์ต่อ ผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงาน เช่น สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจการวางแผน หรือรวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ในอนาคต 4/4

  30. ลักษณะของการรายงาน คือ “ถูกต้อง พอเพียง ทันเวลา และใช้ ประโยชน์ได้ ” ซึ่งสามารถแยกพิจารณาได้ดังนี้ - ถูกต้อง รายงานไปตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น บางสิ่งบางอย่างที่ยังไม่ทราบให้ รายงานว่า ยังไม่ทราบ อะไรที่ยังไม่ชัดเจน ก็ให้ระบุไปว่า “ประมาณ” เช่น เกิดเหตุพายุ เมื่อเวลาประมาณ 9.30 น. - พอเพียง โดยหลักการรายงานแล้วจะต้องคลอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้คือ ตอบคำถาม ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ทำไม และอย่างไร หรือภาษาอังกฤษเรียกว่า 1/4

  31. THE FIVE W.FORMULA (Who What When Why How) ใคร: ที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์ อะไร: สิ่งที่เกิดขึ้น หรืออาจหมายความว่าสิ่งนั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร เมื่อไร: สิ่งนั้นเกิดขึ้นเมื่อไร ทำไม: ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น อย่างไร: ขั้นตอนการเกิดเหตุการณ์ 2/4

  32. วิธีการรายงานเหตุด่วนสาธารณภัยวิธีการรายงานเหตุด่วนสาธารณภัย 1. รายงานเหตุครั้งแรกทันทีเมื่อเกิดภัย เมื่อยังไม่ทราบรายละเอียดชัดเจน 2. รายงานให้รวดเร็วทุกระยะ และต่อเนื่องครบถ้วน 3. รายงานครั้งแรกเฉพาะหัวข้อที่ทราบก่อนและเมื่อมีข้อมูลเพิ่มเติมให้รายงานเพิ่ม โดยมีรายละเอียดข้อมูลครบถ้วน 4. หากเกิดภัยในหลายพื้นที่ไม่ต้องรอรวบรวมข้อมูลให้ครบทุกพื้นที่ แยกรายงานเฉพาะพื้นที่ที่ทราบก่อน 5. ทวงถาม เร่งรัด ตรวจสอบ และรายงานความเสียหาย และการช่วยเหลือนอกเหนือจากการรอรับรายงานตามปกติ 6. เมื่อภัยผ่านพ้นไปแล้ว ให้สรุปรายงานขั้นสุดท้ายทุกครั้ง

  33. เมื่อไหร่ต้องรายงาน ทางวิทยุ • เมื่อจำเป็น • ที่จะส่งข่าวทางวิทยุ

  34. ข่าวที่จะส่งทางวิทยุ • ต้องสั้น กะทัดรัด ชัดเจนและไม่สามารถส่งโดยวิธีอื่นได้ การส่งข่าวทางวิทยุเป็นวิธีที่ปลอดภัย น้อยที่สุด

  35. ระเบียบกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยว่าด้วยการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ (SYNTHESIZER) ของหน่วยงานในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๔๙

  36. เนื้อหาและการจัดหมวดหมู่ของระเบียบเนื้อหาและการจัดหมวดหมู่ของระเบียบ แบ่งเป็น 8 หมวด นิยาม “ข่ายวิทยุสื่อสาร” หมายความว่า ข่ายวิทยุคมนาคมของกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย “สถานีวิทยุสื่อสาร”หมายความว่า ที่ส่งวิทยุคมนาคม ที่รับวิทยุคมนาคม หรือที่ส่งและที่รับวิทยุคมนาคม และให้หมายความ รวมถึงผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมด้วย “ศูนย์วิทยุสื่อสารกลาง”หมายความว่า สถานีวิทยุสื่อสาร ที่ตั้งอยู่ที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และให้หมายความรวมถึงสถานีวิทยุสื่อสารศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนกลางด้วย

  37. นิยาม (ต่อ) “ศูนย์วิทยุสื่อสาร”หมายความว่า ศูนย์วิทยุสื่อสารกลาง ศูนย์วิทยุสื่อสารเขต ศูนย์วิทยุสื่อสารจังหวัด ศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. กรุงเทพมหานคร และศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. “พนักงานวิทยุ”หมายความว่า ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าศูนย์วิทยุ สื่อสารให้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์วิทยุสื่อสาร “ผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม”หมายความว่า บุคคลที่ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่อง วิทยุคมนาคม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกิจการวิทยุ คมนาคมของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  38. หมวด 2ข่ายวิทยุสื่อสาร ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ ศูนย์วิทยุสื่อสาร สถานีวิทยุสื่อสารที่ได้รับอนุญาตให้ร่วมข่ายส่อสาร และผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมในข่ายสื่อสาร หน่วยงานในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และศูนย์ อปพร.(162.800 MHz) มีสิทธิใช้ข่ายวิทยุคมนาคมของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  39. หมวด 2ข่ายวิทยุสื่อสาร • ศูนย์วิทยุสื่อสารจังหวัด เป็นศูนย์ควบคุมข่ายวิทยุสื่อสาร ที่อยู่ภายใต้ความควบคุมของศูนย์วิทยุสื่อสารเขต มีหัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เป็นหัวหน้าศูนย์วิทยุสื่อสารจังหวัด มีอำนาจควบคุมศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. รวมถึงสถานีวิทยุสื่อสารทุกสถานีในข่ายวิทยุสื่อสารในเขตจังหวัด

  40. หมวด 2ข่ายวิทยุสื่อสาร • ศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. เป็นศูนย์ควบคุมข่ายวิทยุสื่อสาร อยู่ในความควบคุมของศูนย์วิทยุสื่อสารจังหวัด (ยกเว้นศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร อยู่ในความควบคุมของศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. กรุงเทพมหานคร) มีผู้อำนวยการศูนย์ อปพร. อำเภอองค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง เป็นหัวหน้าศูนย์วิทยุสื่อสาร อปพร. มีอำนาจควบคุมสถานีวิทยุสื่อสารทุกสถานีในข่ายวิทยุสื่อสารในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ

  41. หมวด 3การใช้ข่ายวิทยุสื่อสาร • ให้ใช้เฉพาะความถี่วิทยุที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอนุญาต และใช้ในเขตพื้นที่ที่กำหนดเท่านั้น • การใช้ข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่ใด ต้องแจ้งไปยังศูนย์วิทยุสื่อสารในพื้นที่นั้นก่อนทุกครั้ง และเมื่อจบการติดต่อสื่อสารต้องแจ้งให้ศูนย์วิทยุสื่อสารแห่งนั้นทราบด้วย • การติดต่อสื่อสารที่ใช้รหัส ต้องเป็นไปตามคณะกรรมการกำหนด

  42. หมวด 4การจัดตั้งศูนย์วิทยุสื่อสาร การขอร่วมข่ายวิทยุสื่อสารและการจัดหาเครื่องวิทยุคมนาคม • สถานีวิทยุสื่อสารนอกข่ายวิทยุคมนาคมของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่ประสงค์จะขอร่วมข่ายวิทยุสื่อสาร ให้ยื่นคำขออนุญาตต่ออธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผ่านหัวหน้าศูนย์วิทยุสื่อสารที่ควบคุมข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่นั้นตามลำดับชั้นที่กำหนด โดยให้แจ้งรายนามผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ที่มีความประสงค์จะร่วมใช้ข่ายวิทยุสื่อสาร รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องวิทยุคมนาคม ซึ่งระบุตราอักษร แบบ รุ่น หมายเลขเครื่อง และเลขทะเบียนครุภัณฑ์ ตามแบบที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาต

  43. หมวด 4การจัดตั้งศูนย์วิทยุสื่อสาร การขอร่วมข่ายวิทยุสื่อสารและการจัดหาเครื่องวิทยุคมนาคม • สถานีวิทยุสื่อสารนอกข่ายวิทยุคมนาคมของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่ประสงค์จะขอร่วมข่ายวิทยุสื่อสาร ให้ยื่นคำขออนุญาตต่ออธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผ่านหัวหน้าศูนย์วิทยุสื่อสารที่ควบคุมข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่นั้นตามลำดับชั้นที่กำหนด โดยให้แจ้งรายนามผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ที่มีความประสงค์จะร่วมใช้ข่ายวิทยุสื่อสาร รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องวิทยุคมนาคม ซึ่งระบุตราอักษร แบบ รุ่น หมายเลขเครื่อง และเลขทะเบียนครุภัณฑ์ ตามแบบที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาต

  44. หมวด 5คุณสมบัติของผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม และพนักงานวิทยุ ผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมในข่ายวิทยุสื่อสาร ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1.เป็นบุคคลประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังนี้ • เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้างในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • เป็นผู้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ หรือหัวหน้าผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • เป็นสมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

More Related