1 / 34

การปฏิรูป และการฟื้นตัว

การปฏิรูป และการฟื้นตัว. Kazi Matin Archanun Kopaiboon Kirida Bhaopicthr. ขอบข่ายการบรรยาย. อะไรคือกุญแจสำคัญของการฟื้นตัว ทำอย่างไรถึงจะพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชน อะไรทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็ง และทำอย่างไรให้การขยายตัวดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง

Télécharger la présentation

การปฏิรูป และการฟื้นตัว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูปและการฟื้นตัวการปฏิรูปและการฟื้นตัว Kazi Matin Archanun Kopaiboon Kirida Bhaopicthr

  2. ขอบข่ายการบรรยาย • อะไรคือกุญแจสำคัญของการฟื้นตัว • ทำอย่างไรถึงจะพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชน • อะไรทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็ง และทำอย่างไรให้การขยายตัวดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง • กรอบนโยบายเพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ

  3. กุญแจสำคัญของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยกุญแจสำคัญของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย • การฟื้นตัวของ GDP เริ่มต้นอย่างค่อนข้างช้า แต่ปัจจุบันเป็นรองเพียงเกาหลี • ความมีเสถียรภาพ และการปฏิรูปสนับสนุนให้มีการฟื้นตัว • ปัจจัยภายนอก เช่น ความร่วมมือระหว่างภูมิภาค • ความมีเสถียรภาพของเศรษฐกิจในระดับมหภาค และการลดความเปราะบางของเศรษฐกิจต่อปัจจัยภายนอก • การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชนยังคงอ่อนแอ – การไหลเข้าของเงินลงทุนจากต่างประเทศสูงมาก แต่การลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศยังคงซบเซา • การบริโภคภาคเอกชน และ การส่งออกเป็นแกนนำ • วิกฤตน้ำมัน ทำให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจภายหลังจากปี 2547 ชะลอตัวลง

  4. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย เป็นรองเกาหลี

  5. การขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน อยู่ในระดับใกล้เคียงกับเกาหลี

  6. การปฏิรูปมีประสิทธิภาพ แต่ต้องทำมากกว่านี้เพื่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และก่อให้เกิดความมั่นคงทางสังคม • ความสำเร็จในการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระดับมหภาค • ค่าเงินบาทที่แท้จริงอ่อนตัวลงในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว • กระตุ้นการบริโภค และการลงทุนในที่อยู่อาศัย • การปฏิรูปเพื่อส่งเสริมการแข่งขัน การลงทุนภาคเอกชน และการส่งออก • การปฏิรูปเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ธนาคาร และบริษัท • การปฏิรูปเพื่อสร้างธรรมาภิบาลในระบบราชการ

  7. สัดส่วน GDP : 1994-95, 2004-05

  8. การลงทุนภาคเอกชน จะสามารถฟื้นตัวได้อย่างเข้มแข็งหรือไม่?

  9. ภาพรวมการลงทุนภาคเอกชนภาพรวมการลงทุนภาคเอกชน • การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชน ช้ากว่า ช่วงเศรษฐกิจตกต่ำก่อนหน้านี้ • สัดส่วนการลงทุนภาคเอกชน ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงทศวรรษ 1980 • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสูงกว่าในช่วงก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ โดยตัวจักรที่สำคัญ คือ อุตสาหกรรมรถยนต์ • การลงทุนจากภาคเอกชนภายในประเทศ-ซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญของการลงทุนภาคเอกชนก่อนช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ยังคงซบเซาในช่วงที่เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว • การลงทุนในที่อยู่อาศัยเติบโตรวดเร็วมากที่สุด • การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมกรรมภายหลังจากการอ่อนค่าเงินบาท ยังคงมีไม่มาก

  10. การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชนการฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชน

  11. การประมาณการสมการการลงทุนภาคเอกชน(Private Investment function estimate ) • เป็นบวก กับอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริง การอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง การลงทุนภาครัฐ และ การมีสินเชื่อ • แต่มีผลเป็นลบ กับ ต้นทุนที่แท้จริง และ ศักยภาพส่วนเกิน

  12. การพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชนการพลิกฟื้นการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชน • ศักยภาพส่วนเกินหมดไป • มีมุมมองทางบวกกับทิศทางของนโยบายที่จะสนับสนุนการลงทุนที่กำลังจะออกมา • นโยบาย --จะเดินหน้าเรื่องการเปิดประเทศต่อไป --จะลดต้นทุนภายในประเทศ - การลงทุนโดยตรงจากบริษัทต่างชาติ --สามารถปรับปรุงให้เกิดการผสมผสานการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศกับระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ --สนับสนุนนวัตกรรม และความรู้ – การกระจาย

  13. การขยายตัวของภาคการส่งออกอย่างเข้มแข็งในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวการขยายตัวของภาคการส่งออกอย่างเข้มแข็งในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว จะเป็นไปอย่างต่อเนื่องหรือไม่?

  14. การส่งออกในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวการส่งออกในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว • สัดส่วนมูลค่าส่งออกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 47 ปี 2538 เป็น ร้อยละ 65 ปี 2548 • การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ของการส่งออก โดยการขยายตัวของการส่งออกไปเอเชียตะวันออก เร็วกว่าการส่งออกไปประเทศส่วนอื่นๆในโลก • การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของสินค้าส่งออก โดยการไต่ขึ้นไปสู่ห่วงโซ่สินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น และสินค้าที่มีเทคโนโลยีสูงขึ้น • รถยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกน์และชิ้นส่วน มีสัดส่วนในยอดการส่งออกรวมเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 32 เป็นร้อยละ 43 • รถยนต์ เป็นการผลิตในประเทศไทยทั้งหมด ยกเว้นการออกแบบ • ภาคการผลิตอื่น – มีการสร้างเครือข่ายเป็นกลุ่มย่อยๆในระดับภูมิภาค

  15. ภาคการส่งออกเป็นส่วนที่เข้มแข็งที่สุดภาคการส่งออกเป็นส่วนที่เข้มแข็งที่สุด

  16. การปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออก การปฎิรูปการลงทุนภาคเอกชน • การแก้ไขกฎหมายการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวยินยอมให้ต่างชาติถือสิทธิความเป็นเจ้าของได้สูงถึงร้อยละ 49 (พ.ศ.2542) • ยกเลิกข้อกำหนดเกี่ยวกับการบังคับใช้วัตถุดิบภายในประเทศสำหรับการผลิตรถยนต์ และสินค้าเกษตรหลายรายการ (พ.ศ. 2543) • การยกเลิกข้อบังคับเกี่ยวกับการส่งออกสำหรับบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนผ่าน BOI (พ.ศ. 2543) • การจัดตั้งเขตปลอดภาษีอากรสำหรับนักลงทุน (พ.ศ.2545)

  17. การปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฎิรูปนโยบายด้านกำแพงภาษีศุลกากรการปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฎิรูปนโยบายด้านกำแพงภาษีศุลกากร • จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อปรับโครงสร้างภาษีศุลกากร (พ.ศ. 2541) • ลดภาษีนำเข้าบนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบเหลือร้อยละ 3 ลดภาษีนำเข้าวัตถุดิบ เหลือร้อยละ 5 และลดภาษีพันธ์ปลาและหอยเหลือร้อยละ 0(สิงหาคม 2542) • ดำเนินการลดภาษีนำเข้าภายใต้กรอบ AFTA – อัตราภาษีนำเข้าโดยเฉลี่ยภายใต้กรอบ AFTA ลดลงจากร้อยละ 7.3% (2543), ..% (2545) & …% (2548) • ลดขั้นภาษีนำเข้าเหลือ 3 ขั้นระหว่างปี 2544-2548 โดยลดภาษีนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรมโดยเฉลี่ยจากร้อยละ 20 เหลือร้อยละ 10 • ลดภาษีนำเข้าสินค้าเกษตร

  18. การปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฏิรูปเพื่อเพิ่มความสะดวกต่อพิธีการศุลกากรและการค้าการปฏิรูปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการส่งออกการปฏิรูปเพื่อเพิ่มความสะดวกต่อพิธีการศุลกากรและการค้า • ลดขั้นตอนในการผ่านพิธีการศุลกากร และเริ่มใช้การส่งเอกสารแบบด่วน (express document handling) (พ.ศ.2542) • นำระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ของ UN มาใช้เพื่อเพิ่มการจัดส่งของแบบอัตโนมัติ (พ.ศ. 2542) • นำระบบ WTO Valuation มาใช้ โดยเป็นระบบการใช้เลขรหัส 6 หลัก (6-digit HS system) และแก้ไขกฎข้อบังคับเกี่ยวกับการอุทธรณ์ให้ง่ายขึ้น (พ.ศ. 2543) • จัดทำรายชื่อผู้ประกอบการที่ดีถือบัตรทองซึ่งให้สิทธิยกเว้นการตรวจสอบ • กลุ่มผู้ประกอบการที่ได้รับสิทธิพิเศษส่งเสริมการลงทุน (BOI) และการขยายขอบเขตการยกเว้นภาษีนำเข้า • ให้ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กยื่นใบผ่านพิธีการศุลกากรผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ท

  19. การปฏิรูปทำให้ประเทศไทยเปิดประเทศมากขึ้นการปฏิรูปทำให้ประเทศไทยเปิดประเทศมากขึ้น

  20. ปัจจัยภายนอกที่สนับสนุนการฟื้นตัวของการส่งออกปัจจัยภายนอกที่สนับสนุนการฟื้นตัวของการส่งออก • ผลผลิตโลกโดยรวม --การค้าขยายตัวสูงภายหลังปี พ.ศ.2542 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงน้อยกว่าในทศวรรษที่ 1980 และ ทศวรรษที่ 1990 ราคาสินค้าบริโภคเป็นปัจจัยสนับสนุน • ความร่วมมือระหว่างภูมิภาค(การลงทุน และการค้า) ผลักดันการส่งออกโดยผ่านเครือข่ายเป็นกลุ่มย่อยๆในระดับภูมิภาค สู่ต้นทุนที่ต่ำ • คู่แข่งส่งออกซึ่งเป็นประเทศที่มีรายได้ต่ำ จากสินค้าที่ต้องใช้แรงงานมากไปสู่การผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ทักษะเพิ่มมากขึ้น (จีน เวียดนาม อินเดีย) • วิกฤตน้ำมันเป็นภาระหนักต่อบริษัทในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547

  21. ประเทศในเอเชียตะวันออกมีสัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกด้วยกันสูง --สนับสนุนความร่วมมือภายในภูมิภาค

  22. ความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเป็นตัวผลักดันที่สำคัญของภาคการส่งออกของประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเป็นตัวผลักดันที่สำคัญของภาคการส่งออกของประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออก Percentage point change in extra-regional and intra-regional market shares between 1994-96 average and 2002-04 average

  23. ความร่วมมือระหว่างภูมิภาค – การแบ่งภาคการผลิตเป็นส่วนย่อยเพื่อลดต้นทุน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสายการผลิตและมีผลกระทบต่อประโยชน์ที่ แต่ละประเทศจะได้รับ

  24. บริษัทข้ามชาติเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะตั้งฐานการผลิตที่ใด้บ้างในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในโลก ประเทศไทย หรือประเทศอื่นในโลกจะได้รับประโยชน์ ขึ้นอยู่กับ ต้นทุนโดยเปรียบเทียบ และการผสมผสานกับเศรษฐกิจภายในประเทศ

  25. ความสามารถในการแข่งขันสำหรับประเทศไทย – ประเทศจีนมีการปรับปรุงเทคโนโลยีอย่างมาก

  26. การไต่ลำดับชั้นของประเทศไทย ยังไม่มากนัก Source: MOC

  27. อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรอื่น – จำกัดการเพิ่มมูลค่าภายในประเทศ • การจำแนกการผลิตไปในหลายๆประเทศ • การแข่งขัน – ประเทศที่มีรายได้ต่ำ เช่น เวียดนาม และจีน - ประเทศที่มีรายได้สูง เช่น มาเลเซีย ยุโรป • การแข่งขันกับที่อื่น – เวียดนาม และจีน • การปรับปรุงความสะดวกรวดเร็วในการทำการค้าจะช่วยลดต้นทุน • ความไม่แน่นอนของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ – ประเทศไทยจำเป็นที่ต้องมีการผลิต และนวัตกรรมเพื่อช่วยให้เกิดการผสมผสานกับภายในประเทศ • ขยายการริเริ่มนวัตกรรมของรัฐโดยเฉพาะด้านอิเล็กทรอนิกส์ • การพัฒนาทักษะแรงงานที่เข้มแข็งจะเป็นกุญแจสำคัญที่นำไปสู่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการสร้างนวัตกรรม

  28. การเพิ่มมูลค่าสูงที่สุดในรถยนต์ และชิ้นส่วน • ตลาดที่ใหญ่ที่สุดใน ASEAN รวมรถปิคอัพ 1 ตัน • บริษัทญี่ปุ่นแสวงหาประโยชน์จาการย้ายฐานการผลิต นโยบายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า • ไม่มีการใช้นโยบายรถประจำประเทศ (national car policy) ทำให้มีพื้นที่สำหรับการแข่งขัน • การลดภาษีนำเข้า – แสวงหาการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น • ลดข้อจำกัดเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของของคนต่างด้าว โดยยอมให้ผู้ผลิตรถยนต์ในขั้นแรก (first-tier auto-parts-supplier)การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า พิธิการศุลกากรเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสายหรือเครือข่ายการผลิต

  29. การส่งออกรถยนต์และชิ้นส่วนการส่งออกรถยนต์และชิ้นส่วน

  30. การผลิตทั้งหมดทำภายในประเทศไทย ยกเว้นการออกแบบ

  31. ประเทศจะรักษาการส่งออกที่เข้มแข็งให้ต่อเนื่องไปได้หรือไม่ ได้ถ้า…. ต้นทุนเคลื่อนย้ายฐานการผลิตตกลงที่นี่ • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และ การมีบรรยากาศการลงทุนที่ดีขึ้น • ทำให้มีการแข่งขันมากขึ้นในภาคบริการ การผสมผสานการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ผ่านการเพิ่มมูลค่า: • การเพิ่มทักษะแรงงานของไทยให้สูงกว่าระดับเงินเดือน • รัฐบาลไทยสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม และความรู้ • มีภาคการเงินที่สมดุลเพื่อสนับสนุนนวัตกรรม

  32. มองไปข้างหน้า การปฏิรูปนโยบาย

  33. ประสบการณ์การฟื้นตัวที่ผ่านมาหมายความว่าอย่างไร?ประสบการณ์การฟื้นตัวที่ผ่านมาหมายความว่าอย่างไร? • การขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำลง จากร้อยละ 6 ต่อปี ในช่วง 2545-2547 เหลือร้อยละ 4.5% ในปี พ.ศ. 2548-2550 • การแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทำได้ยากขึ้น เมื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำลง • ข้อจำกัดในการขยายการบริโภคภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญในขับเคลื่อนผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ • การรวมตัวกันของประเทศในเอเชียตะวันออกช่วยผลักดันการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการส่งออก บรรยากาศการลงทุนได้รับการปรับปรุง และมีมูลค่าเพิ่มขึ้น • การแข่งขันจากประเทศที่มีรายได้ต่ำ และประเทศที่มีรายได้ปานกลางจะทำให้ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันรุนแรงขึ้นหากปราศจากการปรับปรุงทักษะแรงงาน • ความอ่อนไหว ต่อ ความต้องการจากภายนอก การตัดสินใจเคลื่อนย้ายฐานการผลิตทำให้มีการเปลี่ยนงานและก่อให้เกิดปัญหาสังคม

  34. การปฏิรูปนโยบาย เพื่อเปลี่ยนการฟื้นตัวที่เข้มแข็งไปสู่การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและมีคุณภาพ • การชี้แนวนโยบายที่รวดเร็วเพื่อสนับสนุนสิ่งที่กล่าวมาข้างต้น • ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาข้อจำกัดของบรรยากาศการลงทุน • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และเพิ่มการแข่งขัน • การลดต้นทุนของการบริการที่ไม่สามารถแลกเปลี่ยนได้ • การปกป้องแรงงาน และช่วยให้แรงงานสามารถโยกย้ายงานได้อย่างสะดวก • การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน และการบริหารจัดการทรัพยากร

More Related