1 / 47

Active Case Management for Early ART in HIV-infected Infants for HIV Cure (ACC)

Active Case Management for Early ART in HIV-infected Infants for HIV Cure (ACC). การจัดการเชิงรุก เพื่อเริ่มยาต้านไวรัสแก่ทารกที่ติดเชื้อฯ ให้เร็วที่สุด. สัมมนาเอดส์ในแม่และเด็ก ครั้งที่ 1 26 มิถุนายน 2557. สำนักโรคเอดส์ฯ กรมควบคุมโรค สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์

Télécharger la présentation

Active Case Management for Early ART in HIV-infected Infants for HIV Cure (ACC)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Active Case Managementfor Early ART in HIV-infected Infantsfor HIV Cure (ACC) การจัดการเชิงรุก เพื่อเริ่มยาต้านไวรัสแก่ทารกที่ติดเชื้อฯ ให้เร็วที่สุด สัมมนาเอดส์ในแม่และเด็ก ครั้งที่ 1 26 มิถุนายน 2557 สำนักโรคเอดส์ฯ กรมควบคุมโรค สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ HIV-NAT, ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข

  2. การจัดการเชิงรุกฯ คืออะไร • การให้บริการเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ทารกที่คลอด และทารกที่ติดเชื้อเอชไอวีให้ ได้รับบริการตามแนวทางมาตรฐาน อย่างรวดเร็ว ครบถ้วน ถูกต้อง โดยมีการวางแผนให้เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละราย เพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายยุติการถ่ายทอดเชื้อฯ และลดการตายของทารกจากเอดส์ โดยอาศัยการประสานการจัดการอย่างครบวงจรในทีมสหวิชาชีพ โดยคำนึงถึงการรักษาสิทธิ์ผู้ป่วย การให้ทางเลือกและเคารพการตัดสินใจของผู้รับบริการ ปรับมาจากนิยาม Active Case Management (ACM) ของ Central Manchester Hospital, UK

  3. Active Case Management Network for eMTCT & Ped HIV Cure DMSc, NHSO DOH DDC PCR Labs Network (14DMSc, 1CMU) DOH Case Manager BATS Case Manager Promote early ANC, PMTCT Manage risk of MTCT and loss to FU • New PCR Positive Case Case Manager4ภาค, HIVNAT-TRCARC Support early ART EID Link to HIV care Hospital Case Manager (H-CM) • eMTCT • Early ART • & promote ART adherence Ped Cure research Advisory Committee Oversees “Elimination of MTCT & Pediatric HIV Cure”

  4. การจัดการเชิงรุกทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวีการจัดการเชิงรุกทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวี Assess Risk of MTCT • HighMTCT Risk • HAART < 4 wk • VL > 50 cpm • กินยาไม่สม่ำเสมอ Standard MTCT Risk AZT syrup 4 wk PCR 1, 2 เดือน HAART prohylaxis 6 wk PCR 1,2, 4 เดือน PCR neg PCR pos Routine PCR pos PCR neg Routine PCR ยืนยันการติดเชื้อ • Switch to PI-based HAARTfor Rx ทันที • ปรึกษากุมารแพทย์/CM ประจำภาค Ped Cure research

  5. การจัดการเชิงรุกทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวีการจัดการเชิงรุกทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวี Assess Risk of LTFU Standard LTFU Risk • High LTFURisk • No ANC • No post test • ไม่ต้องการรับการปรึกษา • มีแผนจะย้ายที่อยู่/เปลี่ยนที่ทำงาน • แม่จะไม่ได้เลี้ยงลูกเอง • ไม่มีสิทธิ์ประกันสุขภาพ/ต่างด้าว • รายได้น้อย มีปัญหาจิตสังคม ให้การปรึกษา ติดตามตามระบบปกติ • Intensive counseling • กำหนดแผนการมารับบริการร่วมกับมารดาเด็ก • ประสานงานกับหน่วยติดตามวินิจฉัยเด็ก • แกนนำ อาสาสมัครช่วยติดตาม • ตกลงวิธีการสื่อสารกับมารดา/ผู้ดูแลเด็ก เพื่อเตือน/ตามมาเจาะเลือด • ให้ความช่วยเหลือตามความจำเป็นของแต่ละราย

  6. ทำไมต้องจัดการเชิงรุกฯ

  7. According to the National AIDS Strategies 2012-2016 http://aidszeroportal.org/

  8. จุดรั่วจากระบบบริการ PMTCT คาดประมาณเด็กติดเชื้อ 117 ราย ตรวจพบภายในปีแรก 61/117 = 52% http://aidszeroportal.org/

  9. การดำเนินงานเชิงรุกทำอย่างไรการดำเนินงานเชิงรุกทำอย่างไร

  10. Case Activation & Data Flow HIV+ve delivery PCR+ve Infants Hospitals (N=900) PCR labs N=15 NAP DOH ACC database DMSc, HIVNAT CM ภาค, HIVNAT ACC Form (All HIV+ exposed infants) Part 1: register Part 2: EID ACC Form (PCR+ve infants) Part 1: register Part 2: EID Part 3: ACC BATS การให้บริการ/รายงาน การบันทึกข้อมูล Ped Cure Research HIVNAT การใช้ข้อมูล/จัดการ

  11. Pediatric HIV i-ACC Networks Pediatric HIV Centers: referral site, training and networking with provincial hospitals in the region Provincial hospitals: referral site and networking with their community hospitals in the province HIVNAT: a referral site and networking with Thai Red Cross and Bangkok Hospitals CRPProv=18 N SNR Prov= 20 + PCK Prov = 20 HIVNAT Prov = 5 HY Prov = 14

  12. การจัดการเชิงรุกฯ โดยR-CM, Lab CM ทารกPCR+ve ดูแลรักษาตามแนวทางฯ คีย์ NAP- ART รายงานทันทีโดย PCR labsCM รพ. Email CM Group4 CM - DMSc CM ประจำภาค1 และ HIVNAT2 สนับสนุนให้เกิดการตรวจ PCR ซ้ำ และรักษาด้วยยาต้านฯ เร็วที่สุด ส่งเสริม adherence ทารก ติดตามข้อมูล ACC Part 1: register Part 2: EID Part 3:PCR - Rx Ped Cure Research3 ACC database สอวพ - CM 1CM = case manager ภาคเหนือ (รพ.เชียงรายฯ) กลาง (รพ.พระจอมเกล้า) อิสาน (รพ.ศรีนครินทร์) ใต้ (รพ.หาดใหญ่) 2HIVNAT = HIV the Netherlands, Australia and Thailand Research Group 3The Latent Reservoir in Early-treated Thai Children Research, 4CM ภาค HIVNAT, กรมวิทย์ฯ, สอวพ

  13. การติดตามประเมินผล • เพื่อประเมินความเป็นไปได้ของการดำเนินการเชิงรุก ติดตามความก้าวหน้า และผลลัพธ์ • เพื่อให้การสนับสนุนหน่วยบริการให้ทำงานเชิงรุกได้ • จะเป็นการกำกับติดตามอย่างมีกรอบเวลา 3-4 ปี

  14. รายงาน ACC แม่ • ใช้ติดตามหญิงคลอดที่ติดเชื้อเอชไอวีในโรงพยาบาล • ใช้ประเมินและรายงานความเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อฯ ไปสู่ลูกและความเสี่ยงต่อการขาดนัด • Case manager ใช้ในการสื่อสารกับทีมผู้เชี่ยวชาญเพื่อติดตามและจัดการเด็ก

  15. รายงาน ACCPCR+ • Case manager ภาคใช้ติดตามเด็กที่ตรวจพบ PCR บวกเพื่อให้เด็กได้เริ่มยาเร็วที่สุด และส่งต่อเข้าโครงการวิจัย Ped cure

  16. ระบบข้อมูลงานเพื่อ ACC ข้อมูล NAP ของร.พ. ข้อมูล PHIMS ของร.พ. http://nadl.nhso.go.th/ http://pmtct.anamai.moph.go.th/PHIMS/ http://aidszeroportal.org/ http://pmtct.anamai.moph.go.th/home/

  17. แหล่งข้อมูลสำหรับกำกับติดตามและพัฒนาคุณภาพแหล่งข้อมูลสำหรับกำกับติดตามและพัฒนาคุณภาพ http://pmtct.anamai.moph.go.th/home/index.php

  18. M&E for ACC ACC database NAP database • Number of PCR positive infants • Age at PCR1, 2 • Where PCR positive infants identified • Age at first identification • Number of confirmed PCR positive • Age at confirmed HIV+ve • Number of ART initiation • Age at ART initiation • Number of infants in HIV care • Number of infants received ART • VL suppression at 12, 24, … mo • CD4 status/gain over time • BW & height • ARV Adherence • Retention in care • Dead Case investigation Risk factors for MTCT Ped cure research HIV reservoir in early ART infants

  19. D-Day • Kick off 4 ภาค กค-สค 2557 • ประชุมกับ ANC, LR, Ped clinic เพื่อวางแผนการจัดการเชิงรุกภายในและการประสานงานกับ CM ภาคและกรมอนามัย • กำลังดำเนินงาน recruit CM ระดับภาคและส่วนกลาง • เริ่ม Activate case กันยายน 2557

  20. ขอบคุณแทนเด็กๆที่จะปลอดภัยจากเชื้อการติดเชื้อเอชไอวีขอบคุณแทนเด็กๆที่จะปลอดภัยจากเชื้อการติดเชื้อเอชไอวี

  21. สไลด์สำรอง

  22. MTCT Rate (%) 2008-2013 http://aidszeroportal.org/

  23. การรับยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์การรับยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ http://aidszeroportal.org/

  24. AIDS Zero Portal เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างการตรวจ PCR ในทารก http://aidszeroportal.org/

  25. PHIMS - GIS http://203.157.64.36/INDICATOR/report/show_gis.jsp

  26. การจัดการเชิงรุกหญิงตั้งครรภ์ – มารดาติดเชื้อเอชไอวี ANC, HCT PHIMS monthly report หญิงตั้งครรภ์ HAART โดยเร็วที่สุด CD4baseline VL ไตรมาสสุดท้าย หญิงตั้งครรภ์ติดเชือเอชไอวี High ประเมินความเสี่ยง MTCT หญิงติดเชื้อเอชไอวีคลอด Standard ทารกทีเกิดจากแม่เอชไอวี High ประเมินความเสี่ยง LTFU Standard บันทึก NAP - PMTCT รายงานกรมอนามัยภายใน 24 ชม. (ถ้าติดวันหยุดราชการ รายงานวันเปิดราชการวันแรก)

  27. Case Activation & Data Flow HIV+ve delivery PCR+ve Infants Hospitals (N=900) PCR labs N=15 NAP DOH ACC database DMSc, HIVNAT CM ภาค, HIVNAT ACC Form (All HIV+ exposed infants) Part 1: register Part 2: EID ACC Form (PCR+ve infants) Part 1: register Part 2: EID Part 3: ACC BATS การรายงาน การบันทึกข้อมูล Ped Cure Research HIVNAT การใช้ข้อมูล/จัดการ

  28. การจัดการเชิงรุกเพื่อยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก กรมอนามัย รพ. รายงานหญิงติดเชื้อฯ คลอดภายใน 24 ชม. DOH-CM รับรายงานจากรพ. • ประเมินความเสี่ยง MTCT • ทบทวนการจัดการ ตามแนวทาง • ประสานการให้คำแนะนำ/ช่วยเหลือ • ตรวจสอบการคีย์ NAP-PMTCT • ติดตามข้อมูลเพื่อจัดการเชิงรุก (ACC) บันทึก ACC Form Part 1: register Part 2: EID2 ACC database DOH-CM = case manager กรมอนามัย

  29. เป้าหมายของการดำเนินงานเชิงรุกภายในปี 2560 ระดับผลกระทบ (Impact) • MTCT Rate < 1.5% • จำนวนเด็กติดเชื้อจากมารดาน้อยกว่า 50 รายต่อปี ระดับผลลัพธ์(Outcome) • มากกว่าร้อยละ 50 ของทารกที่ติดเชื้อเอชไอวีได้เริ่มยาต้านฯภายในอายุ 3 เดือน • ร้อยละ 80 ของทารกที่เริ่มยาต้านฯ VL< 50 cpmหลังรับการรักษา 12 เดือน

  30. เป้าหมายของการดำเนินงานเชิงรุกภายในปี 2560 ระดับผลผลิต output • มีระบบจัดการเชิงรุกสำหรับหญิงตั้งครรภ์และทารกที่ติดเชื้อเอชไอวี • ร้อยละ 80 ของทารกที่ติดเชื้อเอชไอวี ได้มีการรายงานผ่านระบบดำเนินงานเชิงรุก • ร้อยละ 60 ของมารดาคลอดที่มีการติดเชื้อเอชไอวี มีการรายงานผ่านระบบดำเนินงานเชิงรุก • ร้อยละ 90 ของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาสูตร HAART • ร้อยละ 90 ของทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อ ได้รับการตรวจ PCR ครั้งแรกภายในอายุ 1 เดือน

  31. PMTCT – HIV Related Websites • PHIMS: http://pmtct.anamai.moph.go.th/phims/ • user name: center Password: center • PHIMS GIS/ตัวชี้วัด • AIDSZEROPORTAL.or.th

  32. Hospital Alertการปฏิบัติโดยโรงพยาบาลเมื่อพบแม่คลอด HIV positive เพื่อรายงาน ACC • กรอกข้อมูล ACC ส่วนที่ 1, 2 และวันนัดตรวจเลือดลูกครั้งที่ 1 ในส่วนที่ 3 • อีเมล์แบบฟอร์มที่กรอกแล้วมาที่สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ภายใน 24 ชม. ถ้าติดวันหยุดราชการให้ส่งวันแรกที่เปิดราชการ พร้อมทั้งแจ้งชื่อผู้รายงานและเบอร์โทรศัพท์ติดต่อสะดวก • อาจมีการติดต่อกลับจากกรมอนามัย เพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม ข้อควรระวัง ห้ามบันทึกชื่อ/ที่อยู่ของผู้รับบริการในแบบรายงานเด็ดขาด

  33. บาทบาท CM กรมอนามัย • ตรวจสอบการส่งรายงาน ACC ทุกวัน • ตรวจสอบความครบถ้วนของการกรอกข้อมูล • ส่งข้อความสั้น (SMS) ตอบรับหรืออีเมล์ตอบไปยังผู้ส่งข้อมูลเพื่อยืนยันการได้รับข้อมูล • ให้คำแนะนำรพ. กรณีต้องการคำปรึกษาด้านการดูแลรักษา ให้รายชื่อแพทย์ที่ปรึกษาในพื้นที่รับผิดชอบและวิธีติดต่อสะดวก • ติดต่อกลับผู้ประสานงานของโรงพยาบาลกรณีข้อมูลไม่ครบถ้วน เพื่อติดตามข้อมูลส่วนที่ยังไม่ครบถ้วน • บันทึกข้อมูลใน ACC database ข้อควรระวัง ถ้ามีการรายงานชื่อ/ที่อยู่ของผู้รับบริการในแบบรายงานให้แจ้งกลับผู้รายงานทันทีถึงข้อห้ามในการรายงาน

  34. Lab Alertข้อมูลการ Alert ACC โดยแล็บเมื่อพบ PCR positive infant • แจ้งจนท. โรงพยาบาลที่ส่งเลือดเด็กเพื่อให้ดูผลการตรวจใน NAP ทันที (ไม่แจ้งผลทางโทรศัพท์ตามมาตรฐานของห้องปฏิบัติการ) • โทรแจ้ง CM ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าตรวจพบผล PCR positive ที่โรงพยาบาล xxxx • CM กรมวิทย์ฯ จะโทรแจ้ง CM ภาคที่ดูแลรพ. เร็วที่สุด (ภายใน 24 ชม.) • ส่งรายงานผลการตรวจทางอีเมล์ไปที่ CM group (รพ.เจ้าของเคส, CM ภาค, สส, สอวพ, HIVNAT

  35. รายงานกิจกรรม ACC (ประจำเดือน/จาก xx รพ/จว.)PCR positive Infants • จำนวนเด็กที่ตรวจพบ PCR positive หนึ่งครั้ง • อายุเฉลี่ย(range) • จำนวนเด็กที่ได้รับยาสูตร HAART • จำนวนเด็กที่ PCR เป็นบวกสองครั้ง • อายุเฉลี่ย(range) • จำนวนเด็กที่ลงทะเบียน NAP • จำนวนเด็กที่ได้ตรวจ CD4 ก่อนเริ่มยา • จำนวนเด็กที่ได้รับยาสูตร HAART • จำนวนเด็กที่อายุครบหนึ่งปี • จำนวนเด็กที่ enroll to HIV reservoir study

  36. ACC Outcome Report (NAP) • VL suppression • CD4 gained • BW, height gained • Retention at 12, 24, 36, 48 months • Dead, OI (?)

  37. Counseling message related to Cure • Gracia-Prats AJ AIDS 2013; 26: 1927-34. • PCR pos -> PCR neg, Ab neg, stop ART, PCR pos, Ab neg • ทำ Counseling message กรณีผลเลือดบวกๆ ลบๆ ในเด็กได้ยาเร็ว • อย่าเพิ่งหยุดยา • Risk of false negative HIV DNA PCR due to ARV prophylaxis Burgard M. J Pediatric 2012; 160: 60-6 • Lilian RR et ClinMicrobiol 2012; 50: 2373-7 • ผลจากยาต้าน ทำให้ sensของ HIV DNA PCR ลดลงอย่างชัดเจน • Remission หลังได้ยาต้านฯ ต้องมี maintenance phase • AIDS 2014: Ananworanich J, Phuthanakit T

  38. EID1 Coverage and Estimated HIV-infected Infants Chi square for linear trend p <0.001 (53%) 1EID coverage determined by infants received PCR test at least one time divided by estimated total number of HIV exposed infants

  39. Mother-to-Child Transmission Rate Thailand 2001-2012 NAP Include death AZT/NVP AZT mono 10/2010 HAART for all policy Definitive HIV status by surveillance definition 2005 2006 2007 2010 2011 2012 2001 2002 2003 2004 2008 2009 PHOMS: Perinatal HIV Outcome Monitoring Case Reporting Surveillance NHSO: NAP reporting system PMTCT, 2008-2013

  40. Estimated number of HIV-exposed and HIV-infected Infants 1Data from Ministry of Interior 2Data from national PMTCT monitoring system, Department of Health, MOPH 3Estimatednumber infants born to HIV-infected mothers multiplied by nationally adjusted MTCT rates

  41. ระบบข้อมูลงานสำหรับงาน ePMTCT • PHIMS http://pmtct.anamai.moph.go.th/PHIMS/ • PHIMS website http://pmtct.anamai.moph.go.th/home/ • AIDS Zero Portal http://aidszeroportal.org/

  42. M&E for ACC HCM RCM NAP database ACC database Quarterly clinical data export Monthly activity report Outcomes reports ACC Advisory Committee & Working Group • Need approval from NHSO for quarterly data export (cohort of HIV+ children registered during project period: start Q3-14) • Working group will finalize ACC variables & develop ACC database, outcome reports

  43. Receipt of ARV (%) by Women Giving Birth with HIV-Seropositive 79% for Rx 2012: N = 2,461 (65% report) 2013: N = 3,193 (79% report) PHIMS: DOH as of 17/04/2014

  44. MTCT Rate (%) 2008-2013 http://aidszeroportal.org/

  45. Cascade of Early Infant Diagnosis: 2008-201161% of HIV exposed infants received PCR test at least one time and 53% of HIV-infected infants were identified through the national EID program Estimated number of HIV-exposed infants N = 22,573 Number of infants received EID N = 13,761 (61%) Estimated number of HIV-infected infants N = 804 (3.6%) HIV-infected infants identified by the EID program N = 429 (53%)

  46. Cascade from Early Infant Diagnosis to Antiretroviral Treatment 2008-2011

More Related