1 / 26

21-22 ธันวาคม 2552

ยินดีต้อนรับ. นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สายวิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ จากโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี. 21-22 ธันวาคม 2552 . ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. อนุกรมบาลเมอร์ ( Balmer series). โดย. ดร. กนกกานต์ ฐิติภรณ์พันธ์.

kennan
Télécharger la présentation

21-22 ธันวาคม 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สายวิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ จากโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี 21-22 ธันวาคม 2552 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

  2. อนุกรมบาลเมอร์ (Balmer series) โดย ดร. กนกกานต์ ฐิติภรณ์พันธ์

  3. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน (The Spectrum of Atomic Hydrogen) ปีค.ศ. 1885 บาลเมอร์ (Johann Jakob Balmer , J. J. Balmer) นักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส ได้วัดความยาวคลื่นของสเปกตรัมของแก๊สไฮโดรเจนในช่วงที่ตามองเห็น พบว่าความยาวคลื่นเรียงกันอย่างมีระเบียบ จึงเรียกกลุ่มของเส้นสเปกตรัมนี้ว่า อนุกรม (series) และอนุกรมที่บาลเมอร์พบถูกตั้งชื่อว่า อนุกรมบาลเมอร์ (Balmer Series)

  4. สเปกตรัมชนิดเส้นของแก๊สไฮโดรเจนในหลอดนำแก๊สสเปกตรัมชนิดเส้นของแก๊สไฮโดรเจนในหลอดนำแก๊ส ที่มา : http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~ssakunta

  5. นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ ริดเบอร์ก (Rydberg) ได้คิดสูตรขึ้นอธิบายสเปกตรัมในอนุกรมบาลเมอร์ดังนี้ เมื่อ เป็นความยาวคลื่นของแสงที่ปรากฏในสเปกตรัม R เป็นค่าคงที่ริดเบอร์ก = 1.097x107 m-1 = 1.097x10-3oA-1 ที่มา : www.solarobserving.com

  6. ทฤษฎีของบอร์ สเปกตรัมชนิดเส้นตามทฤษฎีของบอร์ เกิดจากอิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจรหรือเปลี่ยนระดับพลังงาน ดังนั้น เมื่อมีสนามไฟฟ้าผ่านแก๊สไฮโดรเจนในหลอดบรรจุแก๊ส อะตอมไฮโดรเจนจะดูดกลืนพลังงาน ทำให้อิเล็กตรอนเปลี่ยนจากระดับพลังงานต่ำขึ้นไปยังระดับพลังงานสูง E2, E3, … การดูดกลืนพลังงานแล้วอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานเช่นนี้ ทำให้ได้ สเปกตรัมชนิดเส้นมืด อิเล็กตรอนที่ไปอยู่ในระดับพลังงานสูงจะอยู่ไม่ได้นานเนื่องจากอะตอมอยู่ในสภาพไม่คงตัวจึงพยายามกลับคืนสู่สภาวะปกติโดยคายพลังงานออกมาเป็นโฟตอน โฟตอนของแสงที่ให้ออกมาจากอะตอมเกิดจากการเปลี่ยนระดับและระดับที่เหมือนกันจะให้สีเดียวกัน

  7. การที่อิเล็กตรอนเปลี่ยนจากระดับพลังงานสูงมายังระดับพลังงานต่ำจะได้สเปกตรัมชนิดเส้นสว่าง ที่มา : www.files.chem.vt.edu

  8. อนุกรมต่างๆ ในแก๊สไฮโดรเจน อนุกรมไลมาน (Lyman series) อัตราไวโอเลต (UV) อนุกรมไลบาลเมอร์ (Balmer series) แสงที่มองเห็นได้และ ยูวี อนุกรมพาสเซน (Paschen series) อินฟราเรด อนุกรมแบรกเกต (Brackett series) อินฟราเรด อนุกรมฟุนด์ (Pfund series) อินฟราเรด

  9. ระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน พลังงานของอิเล็กตรอนจะมีลักษณะเป็นชั้นไม่ต่อเนื่องกัน

  10. ถ้าอิเล็กตรอนกระโดดจากวงโคจรที่มีระดับพลังงาน ไปยังวงโคจรที่มีพลังงาน ซึ่งต่ำกว่าจะปลดปล่อยพลังงานออกมาเป็นโฟตอนหนึ่งตัวที่มีความถี่ ดังนี้

  11. ค่า R จากการคำณวนของบอร์ตรงกับที่บาลเมอร์และริดเบอร์กหาได้

  12. สำหรับอิเล็กตรอนชั้นต่าง ๆ ที่ nth ค่าพลังงานของแต่ละชั้นสามารถหาได้จากสมการ เมื่อ c คือ ค่าความเร็วแสง มีค่าเท่ากับ 2.99795 x 108 m/s h คือ ค่าคงที่ของแพลงค์ มีค่าเท่ากับ 6.6256 x 10-34 Js ระดับพลังงานที่ ground state มีค่าเท่ากับ 13.6 eV

  13. การทดลองเรื่อง อนุกรมบาลเมอร์ หาค่าคงที่ของริดเบอร์ก (R) จากสมการ หลอดสเปกตรัมของไฮโดรเจน (Hydrogen spectrum tube)

  14. แสงที่มีความยาวคลื่น ผ่านกระทบกับเกรตติงที่มีค่าคงที่ g จะเกิดการการเลี้ยวเบนความเข้มสูงสุดที่จะปรากฏเมื่อมีค่ามุมของการเลี้ยวเบนจะตรงกับเงื่อนไข d = 50 cm n = 1 g = 1.672 m

  15. ค่าคงที่ของริดเบอร์ก (R) บาลเมอร์และริดเบอร์ก สร้างสมการนี้ขึ้นเพียงเพื่อให้ได้ผลตรงกับการทดลองเท่านั้น โดยไม่มีเหตุผลว่าได้มาจากทฤษฎีหรือหลักเกณฑ์ใดๆ

  16. ตัวอย่างการวัดของสเปกตรัมของไฮโดรเจนตัวอย่างการวัดของสเปกตรัมของไฮโดรเจน สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน สีม่วง

  17. ตัวอย่างการคำนวณ n = 3 สีแดง n = 4 สีเขียว สีน้ำเงิน n = 5 สีม่วง n = 6

  18. เรียนฟิสิกส์ จบแล้วทำอะไร?? After finishing a degree in physics, Can we do further? ศิษย์เก่า มรส.จำนวน 3 รุ่น อาชีพครู 82% อาชีพธุรกิจส่วนตัว 12% ศึกษาต่อระดับปริญญาโท 6%

  19. หน่วยงานของรัฐ ครู-อาจารย์ ดร. , ผศ. , รศ. และ ศ. ผู้ช่วยสอน นักวิจัย-ผู้ช่วยวิจัย นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ

  20. ครู-อาจารย์

  21. นักวิจัย-ผู้ช่วยวิจัยนักวิจัย-ผู้ช่วยวิจัย

  22. หน่วยงานเอกชน หัวหน้าคนงาน นักวิจัยประจำห้องปฏิบัติการ พนักงานฝ่ายตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ ตัวแทนขายเครื่องมือวิทยาศาสตร์ นักเขียนโปรแกรม/เจ้าของกิจการคอมพิวเตอร์

  23. หน่วยงานเอกชน

  24. การศึกษาต่อ พลาสมาฟิสิกส์ วัสดุศาสตร์ ฟิสิกส์ประยุกต์ ฟิสิกส์ ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ธรณีฟิสิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงเคมี ชีวฟิสิกส์ วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ นาโนเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีพลังงาน การสอนฟิสิกส์/วิทยาศาสตร์ศึกษา

More Related