80 likes | 356 Vues
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดีของร่างกาย. นำเสนอโดย กลุ่ม DIPNINN มีสมาชิก ดังนี้ ด . ญ . นภัส สร นัยเนตร เลขที่ 22 ด . ญ . กุล นิษฐ์ วิจิตวงศ์ทอง เลขที่ 5 ด . ญ . ธยานี จำรูญ พงษ์ เลขที่ 20 ด . ญ . แพรพิรุฬห์ บำรุง เลขที่35
E N D
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดีของร่างกายโครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดีของร่างกาย • นำเสนอโดย • กลุ่ม DIPNINN มีสมาชิก ดังนี้ ด.ญ.นภัสสร นัยเนตร เลขที่ 22 • ด.ญ.กุลนิษฐ์ วิจิตวงศ์ทอง • เลขที่ 5 • ด.ญ.ธยานี จำรูญพงษ์ เลขที่ 20 • ด.ญ. แพรพิรุฬห์ บำรุง เลขที่35 • ด.ญ.อภิชญา กลิ่นเทศ เลขที่ 47 แบ่งหน้าที่ ได้ดังนี้ ด.ญ.นภัสสร นัยเนตร = หัวหน้ากลุ่ม ด.ญ. กุลนิษฐ์ วิจิตวงศ์ทอง = นำเสนอ ด.ญ.ธยานี จำรูญพงษ์=POWER POINT ด.ญ. แพรพิรุฬห์ บำรุง ป้ายนิทรรศการ ด.ญ.อภิชญา กลิ่นเทศ = รูปเล่ม ม.1/1
บทที่ 1 • หลังจาผลสำรวจ ทำให้สามารถสรุปย่อๆ ได้ดั่งนี้ • กุลนิษฐ์ จัดอยู่ในเกณฑ์ ค่อนข้างผอม เพราะ ขาดสารอาหาร • ธยานี จัดอยู่ในเกณฑ์ ท้วม เพราะบริโภสารอาหารค่อนข้างมาก นภัสสร จัดอยู่ในเกณฑ์ สมส่วน เพราะ บริโภคสารอาหารที่อยู่ในเกณฑ์พอดี แพรพิรุฬห์ จัดอยู่ในเกณฑ์ ส่มส่วน เพราะ บริโภคสารอาหารที่มีประโยชน์ อภิชญา จัดอยู่ในเกณฑ์ ส่มส่วน เพราะ กินอาหารที่มีประโยชน์และหมั่นออกกำลังกาย
บทที่ 2 • การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ดั่งนี้ • เพศหญิง ช่วงวัย 10-12หรืออาจจะไม่เพิ่มขึ้น • เพศชาย ช่วยวัย 12 ถึง 20 ปี • การเปลี่ยนแปลงของเพศชาย • นมแตกผาน รูปร่างสูงขึ้น เสียงแตกเป็นต้น • การเปลี่ยนแปลงของเพศหญิง • หน้าอกขยายใหญ่ เอวคอด มีสิวขึ้น เป็นต้น • การเปลี่ยนแปลงด้านด้านอารมณ์จิตใจ แบ่งเป็น 2 ประเภท • ความเข้าใจในตนเอง การเห็นคุณค่าในตัวเอง • การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ อารมณ์ที่อ่อนไหวง่าย
เเนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัยเเนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย • ด้านร่างกาย เราต้องดูแลตนเอง • รักษาความสะอาดของร่างกายอยู่เสมอ • กินอาหารที่มีประโยขน์ ให้ครบ3 มื้อเป็นต้น • ด้านจิตใจทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส มองโลกในแง่ดี พยายามอดกลั่นอารมณ์ที่ไม่พึงพอใจ • ยอมรับสภาพความเป็นจริง ของตัวเองเป็นต้นการเจริญเติบโตที่สมวัย กินอาหารให้ครบ 3มื้อ เเละครบ 5หมู่ ดื่มนมวันละ1-2แก้ว แก้วละ200ซีซี • และการออกกำลังกายก็สามารถช่วยได้ วิธีการดูแลน้ำหนักของวัยรุ่น วิธีการดูแลน้ำหนักของวัยรุ่น ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงอย่างสม่ำเสมอ ควรเข้ารับการตรวจร่างกายประจำปี เป็นต้น การดูแลสมรรถภาพและปรับปรุง สมรรถภาพร่างกายของตนเองให้ดีต้องขึ้นอยู่กับ ความถี่ของการฝึก ความเข้มของการฝึก ระยะเวลาในการฝึกและ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในแต่ละกิจกรรม ความต่อเนื่องของกิจกรรม
บทที่ 3 1. ให้เพื่อนในกลุ่มทำตารางว่าในหนึ่งวันกินหรือทำอะไรไปบ้างและคำนวนว่าเสียเเคลอรี่ไปเท่าไร2. ให้กินอาหารที่มีส่วนเพิ่มไขมันเเละกินนมเเละผลไม้ทุกๆวันหลังมื้ออาหารเย็นหรือหลังออกกำลังกายตอนเย็น3. ช่างน้ำหนักเพื่อหาค่าความเปลี่ยนเเปลง4. จดบันทึกทุกๆวันจนถึงวันที่ 25 ม.ค. 56 เเล้วส่งให้หัวหน้ากลุ่มเพื่อมาคำนวนหาค่าความแตกต่างของน้ำหนักเก่าเเละใหม่5. ตรวจสอบงานทั้งหมดเเละเตรียมนำเสนอวันที่ 31 ม.ค. 56 • สรุป เป็นตารางดังนี้
บทที่ 4 • ผลการดำเนินงาน สรุปเป็นตารางด้านน้ำหนัก-ส่วนสูง ดังนี้
สรุป • รูปภาพกินผัก โครงงานชิ้นนี้ทางกลุ่มก็ถือว่าสำเร็จไปได้โดยดีแต่มีบางคนที่มีผลแตกต่างน้อยแต่ทางกลุ่มก็ถือว่าทุกคนพยายามแล้ว เพราะการลดน้ำหนักหรือเพิ่มส่วนสูงต้องใช้เวลาและการสม่ำเสมอในการทำซึ่งผลที่ออกมาทางกลุ่มก็คิดว่าได้ผลดีอย่างมากค่ะ