1 / 98

ระบบยา

ระบบยา. 21 กรกฎาคม 2557 ห้องประชุมศรีโคตรบูรณ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม. บริหารเวชภัณฑ์. เบอร์โทรภายใน 122 ภก.วราวิทย์ เบอร์โทรภายใน 123 เวชภัณฑ์ยา ภญ. จินดานุช เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา/วัสดุการแพทย์ นส.นันท์นภัส คลังเวชภัณฑ์ 124 นายชาญ วิทย์. ขั้นตอนการส่งใบเบิกเวชภัณฑ์.

Télécharger la présentation

ระบบยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบยา 21 กรกฎาคม 2557 ห้องประชุมศรีโคตรบูรณ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม

  2. บริหารเวชภัณฑ์ • เบอร์โทรภายใน 122 ภก.วราวิทย์ • เบอร์โทรภายใน 123 • เวชภัณฑ์ยา ภญ.จินดานุช • เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา/วัสดุการแพทย์ นส.นันท์นภัส • คลังเวชภัณฑ์ 124 นายชาญวิทย์

  3. ขั้นตอนการส่งใบเบิกเวชภัณฑ์ขั้นตอนการส่งใบเบิกเวชภัณฑ์ วันพุธ ต้องการใช้ด่วน ส่งใบเบิก EMS ส่งใบเบิกเวชภัณฑ์ คลังเวชภัณฑ์ตัดจ่าย วันพฤหัสบดี คลังเวชภัณฑ์ตัดจ่าย หน่วยงานรับเวชภัณฑ์เองที่คลังเวชภัณฑ์ ส่งเวชภัณฑ์ให้หน่วยงาน หน่วยงานตรวจสอบความถูกต้อง/ทักท้วงทันที วันหยุดราชการยืมตึกอื่นก่อน

  4. ระบุหน่วยงาน วันเดือนปีที่เบิก นำไปใช้เพื่อ รักษาพยาบาลผู้ป่วย จำนวนขอเบิก รายการที่เบิก วันที่เบิกครั้งก่อน จำนวนคงเหลือ ลงชื่อผู้ขอเบิก / ผู้ขอรับ

  5. ลงชื่อผู้เบิก ลงชื่อผู้รับ

  6. ยาใหม่ ปีงบประมาณ2557

  7. ข้อบ่งใช้: ยาฆ่าเชื้อกลุ่ม carbapenem ขนาด: 1 g q 8 hr คำนวณตามการทำงานของไต ผสม: NSS 100 ml MEROPENEM inj. 1 g

  8. ข้อบ่งใช้: ใช้ในการรักษาภาวะช็อกหลังจากที่ให้สารน้ำทดแทนอย่างเพียงพอแล้ว , ใช้สำหรับช่วยให้แรงดันโลหติที่ลดต่ำลงอย่างเฉียบพลันกลับสูงขึ้นสู่ระดับปกติ ขนาด: 4 mg / 4 ml ผสม: D5W 100 ml Norepinephrine (LEVOPHEDR)HIGHT ALERT DRUG

  9. ข้อบ่งใช้: Supraventricular tachycardia ขนาด: 3 mg/ml การบริหารยา ก่อนให้ยาจัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายราบ (ไม่หนุนหมอน) - ให้ยาโดยการฉีด IV rapid push ภายใน 1-3 วินาที - หลังฉีดยา ยกแขนข้างที่ฉีดยาให้สูงขึ้น เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ที่หัวใจได้เต็มที่ ADENOSINE inj. 3mg/ml

  10. เฉพาะราย เป็น Colloid เป็นสารช่วยเพิ่มปริมาณของเหลวภายในหลอดเลือด ใช้รักษาภาวะที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนน้อย  HEAMACCEL solution

  11. ข้อบ่งใช้:iron deficiency anemia ผสมใน NSS 100 ml IRON-SUCROSE inj. 100mg/5ml

  12. ข้อบ่งใช้: ใช้รักษาอาการติดเชื้อแบคทีเรีย (methicillin - resistant staph aureus; MRSA) ขนาด: 500 mg /vial ทำละลายด้วย sterile water for injection 10 ml ผสม: NSS , D5W 100 ml Drip > 60 นาที หากให้เร็วอาจเกิดภาวะ Red man syndrome VANCOMYCIN inj. 500 mg /vial

  13. ข้อบ่งใช้: ใช้เป็นยาเหนี่ยวนำสลบในห้องผ่าตัด ขนาด: 5 mg /ml CIS-ATRACURIUM inj. 150mg/30ml

  14. ข้อบ่งใช้: ภาวะตกเลือดหลังคลอด ขนาด: 500 mcg ผสม: NSS 250-500 ml Drip ใน 1 ชม. SULPROSTONE inj. 500 mcg/ampNALADOR R

  15. ข้อบ่งใช้: ติดเชื้อ Acinetobacter baumannii ขนาด: 150 mg /vial คำนวณตามการทำงานของไต ผสม : ละลายผงยาด้วย sterile water for injection 2 ml ผสม : NSS , D5W 100 ml drip > 30 min COLISTIN inj. 150mg/vial

  16. รักษาภาวะโซเดียมต่ำ SODIUM CHLORIDE TAB 300 MG

  17. NSAIDs NAPROXEN TAB 250 MG

  18. ยาในกลุ่ม benzodiazepines ใช้รักษาภาวะวิตกกังวล CLONAZEPAM TAB 2 MG

  19. เป็นยาในกลุ่มที่เป็นอนุพันธ์ของ benzisoxazole ข้อบ่งใช้ : ใช้สำหรับรักษาโรคจิตเภทชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง RISPERIDONE TAB 2 mg

  20. เป็นยาในกลุ่ม Angiotensin-II receptor antagonists ข้อบ่งใช้ : ภาวะความดันโลหิตสูง LOSARTAN TAB 50 MG

  21. เป็นยาในกลุ่ม Beta-adrenoceptor blocking drugs ข้อบ่งใช้ : ภาวะความดันโลหิตสูง METOPROLOL TAB 100 MG

  22. ใช้สำหรับผู้ที่ต้องการลดอาการอยากบุหรี่ใช้สำหรับผู้ที่ต้องการลดอาการอยากบุหรี่ หญ้าดอกขาว

  23. ใช้สำหรับเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลดอนุมูลอิสระ หญ้าปักกิ่ง

  24. ขับปัสสาวะ หญ้าหนวดแมว

  25. แก้ร้อนใน ลดไข้ แก้กระหายน้ำ รางจืด

  26. แก้ลมคลื่นเหียน อาเจียน ยาหอมนวโกฐ

  27. ประคบแก้ปวด คลายกล้ามเนื้อ ลูกประคบ

  28. อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา Adverse Drug Event (ADE) หมายถึง การบาดเจ็บใดๆ ที่เกิดขึ้น ระหว่างผู้ป่วยได้รับยา อาจเกิดจากการรักษาที่เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมก็ได้ ทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ Adverse Drug Reaction (ADR) หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ และเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติ เพื่อป้องกัน วินิจฉัย บาบัดรักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทางานของร่างกาย โดยไม่รวม ปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาเกินขนาด โดยอุบัติเหตุหรือตั้งใจ ตลอดจนการใช้ยาในทางที่ผิด อุบัติเหตุ หรือการจงใจใช้ยาเกินขนาด และผิดวิธี

  29. Side Effect (SE) หมายถึง ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้นจากเภสัชภัณฑ์ ซึ่งเกิดขึ้นในการใช้ตามขนาดปกติในมนุษย์ และสัมพันธ์กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา Drug Allergy หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อต้านยาที่ได้รับเข้าไป

  30. การแพ้ยาซ้า หมายถึง เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับยา (ทั้งจากตนเอง ผู้ดูแล หรือจากบุคลากรทางการแพทย์) แล้วเกิดอาการแพ้ยา โดยเกิดจากยาที่เคยเกิดอาการแพ้ยาดังกล่าวจาก ยาที่มีชื่อสามัญทางยาเดียวกัน ทั้งที่เคยบันทึกประวัติหรือไม่บันทึกประวัติในเอกสารของโรงพยาบาล ยกเว้น: การตั้งใจให้ยาซ้า (Rechallenge) ของบุคลากรทางการแพทย์เพื่อประโยชน์ในการรักษาหรือมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์

  31. การแพ้ยาในกลุ่มเดียวกัน หมายถึง เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับยา (ทั้งจากตนเอง ผู้ดูแล หรือจากบุคลากรทางการแพทย์) แล้วเกิดอาการแพ้ยา โดยมีลักษณะเหมือนอาการที่เคยแพ้มาก่อนจาก ยาที่มีสูตรโครงสร้างทางเคมีคล้ายคลึงกัน ทั้งที่เคยบันทึกประวัติหรือไม่บันทึกประวัติในเอกสารของโรงพยาบาล

  32. การแพ้ยาในกลุ่มเดียวกัน หมายถึง เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับยา (ทั้งจากตนเอง ผู้ดูแล หรือจากบุคลากรทางการแพทย์) แล้วเกิดอาการแพ้ยา โดยมีลักษณะเหมือนอาการที่เคยแพ้มาก่อนจาก ยาที่มีสูตรโครงสร้างทางเคมีคล้ายคลึงกัน ทั้งที่เคยบันทึกประวัติหรือไม่บันทึกประวัติในเอกสารของโรงพยาบาล

  33. Maculopapular rash Angioedema

  34. Fixed drug eruption Eczematous drug eruption:

  35. EM Urticaria

  36. Antibiotics smart use แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ

  37. Antibiotics smart use • โรคติดเชื้อเฉียบพลันทางเดินหายใจส่วนบน • โรคท้องร่วงเฉียบพลัน • บาดแผล

  38. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • สาเหตุการติดเชื้อ • 80% จากไวรัส • 20% จากแบคทีเรีย • กรณีที่ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • อาการดังนี้ ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน้ำมูกมาก จามบ่อย เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว โดยตรวจไม่พบอาการโรคปอดอักเสบ แผลในปาก ถ่ายเหลว • ไข้สูง > 38๐c ร่วมกับอาการข้างต้น หมายถึง ติดเชื้อไวรัส ไม่จำเป็นต้องให้ยาฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่จึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ

  39. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • กรณีที่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ: คอหอยและทอนซิลอักเสบ • ไข้สูง เจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ทอนซิล ต่อมน้ำเหลืองใต้คอโต ลิ้นไก่บวมแดง มีจุดเลือดออกที่เพดานปาก • ยาที่ควรใช้: penicillin V, amoxicillin, roxithromycin10 วัน

  40. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • กรณีที่อาจให้ยาปฏิชีวนะ: หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ • มีไข้ ปวดหู โดยเฉพาะหลังจากเป็นหวัด หมายถึงติดเชื้อในหูชั้นกลาง • การติดเชื้อในหูชั้นกลางมักดีขึ้นใน 72 ชั่วโมง เพราะฉะนั้น ใน3วันแรกจึงไม่จำเป็นต้องให้ยา แต่หากพ้น3วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นจึงทานยาฆ่าเชื้อ

  41. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • ไซนัสอักเสบที่มีอาการต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน จึงค่อยทานยาฆ่าเชื้อ • ยาที่ใช้ : amoxicillin, erythromycinนาน 5วันในหูชั้นกลางอักเสบ และ นาน7 วันในไซนัสอักเสบ

  42. ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ • Penicillin V • ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 2-3 ครั้ง • เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง • Amoxicillin • ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง • เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 3 ครั้ง หากเป็นไซนัสอักเสบให้ 80-90 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง

  43. ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ • Erythromycin • เด็ก 5-8 มก./กก./วัน วันละ 2 ครั้ง

  44. ข้อควรรู้ • การมีน้ำมูกหรือเสมหะข้น หรือสีเขียวเหลืองไม่ได้บ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ • อาการไข้สูงเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ข้อบ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ เพราะอาจเป็นโรคอื่นได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก

  45. โรคท้องร่วงเฉียบพลัน • โรคท้องร่วง หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวจำนวนอย่างน้อย 3 ครั้งหรือถ่ายมีมูกปนเลือดหรือเป็นน้ำ อย่างน้อย 1 ครั้ง • ผู้ป่วยที่มีอาเจียนเป็นอาการเด่นมักหมายถึงอาหารเป็นพิษ ไม่ไช่ติดเชื้อจึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ

  46. โรคท้องร่วงเฉียบพลัน • การให้ยาฆ่าเชื้อควรให้เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่วมดังนี้ • ไข้สูง > 38๐c • อุจจาระเป็นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือ ตรวจพบWBC,RBCในอุจจาระ • ยาฆ่าเชื้อที่ควรใช้คือ norfloxacin • ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน • เด็ก 15-20 มก./กก./วัน แบ่งวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน (หากเป็นเด็กที่ต่ำกว่า 5 ปี ให้ตามแพทย์เสมอ)

  47. ข้อควรรู้ • เป้าหมายสำคัญที่สุดในการรักษาไม่ใช่ยาฆ่าเชื้อ แต่เป็นการให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนที่สูญเสียไปกับอุจจาระ • ยาบางตัวไม่แนะนำให้ใช้ในกรณีท้องร่วง ได้แก่ buscopan, imodium, lomotil เป็นต้น • การให้ activated charcoal หรือ ultracarbon สามารถให้ได้ ไม่เป็นพิษ ราคาถูกและช่วยลดความกังวลใจแก่ผู้ป่วย โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4 ครั้ง

  48. บาดแผล • แผลที่ยังไม่ติดเชื้อ คือ บาดแผลที่มาถึงรพ.ภายใน6ชั่วโมง • แผลสะอาด หมายถึง • บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดง่าย • ไม่มีเนื้อตาย • บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ แต่ล้างออกได้ง่าย • แผลที่ไม่ได้เปื้อนสิ่งแปลกปลอมที่ติดเชื้อสูง เช่น น้ำคลอง ดิน มูลสัตว์ เป็นต้น

  49. บาดแผล • บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อสูง • บาดแผลที่ถูกวัตถุทิ่มเป็นรูยากแก่การทำความสะอาดได้ทั่วถึง • บาดแผลที่มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง • บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ ที่ล้างได้ไม่หมด • บาดแผลที่สัมผัสเชื้อโรคมาก เช่น ดิน น้ำคลอง เหล็กมีสนิม มูลสัตว์ เป็นต้น • บาดแผลจากการบดอัด • แผลที่เท้า • แผลขอบไม่เรียบ • แผลผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ หรือโอกาสติดเชื้อง่าย เช่น เบาหวาน เป็นต้น

More Related