90 likes | 311 Vues
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานโรคเร่งด่วน. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก. ประจำสัปดาห์ที่ 10 เ ดือน มีนาคม 25 50 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 10 มี.ค. 50 ). เปรียบเทียบสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ณ สัปดาห์ที่ 10 2550 2549 2548 2547 2546
E N D
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานโรคเร่งด่วน สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประจำสัปดาห์ที่ 10 เดือน มีนาคม 2550 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 10มี.ค.50) เปรียบเทียบสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ณ สัปดาห์ที่ 10 2550 25492548 2547 2546 ป่วย (ราย) 3,305 3,062 3,854 2,233 7,164 ตาย (ราย) 2 4 4 5 4 อัตราป่วย 5.26 4.94 6.11 3.56 11.05 อัตราป่วยตาย 0.06 0.13 0.10 0.22 0.06 จำนวนผู้ป่วยปี 2550เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ร้อยละ 7.93 แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกแยกรายเดือน ปี2549 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. – 10มี.ค.50 )
แผนที่ประเทศไทย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดสะสม และรายเดือน (รง.506) ปี2550 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. - 13 มี.ค. 2550) (เดือน มีนาคม ณ วันที่ 13 มี.ค.2550) N N ภาคเหนือ 1.45 ภาคเหนือ 0.14 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1.24 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0.02 1. สมุทรสาคร 37.62 2. ยะลา 21.36 3. สงขลา 18.75 4. ปัตตานี 18.09 5. ตราด 15.91 6. สมุทรสงคราม 13.85 7. พังงา 12.23 8. นครปฐม 11.19 9. กรุงเทพมหานคร 10.83 10. นนทบุรี 10.31 1. กำแพงเพชร 2.20 2. ตราดยะลา 1.36 3. นครปฐม 1.34 4. สมุทรสงคราม 1.03 5. ปัตตานี 0.63 6. สงขลา 0.61 7. นราธิวาส 0.57 8. ประจวบคีรีขันธ์ 0.40 8. นนทบุรี 0.40 10. สุราษฏร์ธานี 0.31 ภาคกลาง 6.44 ภาคกลาง 0.12 ภาคใต้ 0.24 ภาคใต้ 9.84 แหล่งข้อมูล : รายงานข้อมูล 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จัดทำโดย: กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง จัดทำเมื่อ : วันที่ 15 มีนาคม 2550 แหล่งข้อมูล : รายงานข้อมูล 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จัดทำโดย: กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง จัดทำเมื่อ : วันที่ 15 มีนาคม 2550
อัตราป่วยใน 10 อำเภอทั่วประเทศ จากข้อมูลรายงานโรคเร่งด่วน(E2) ณ วันที่ 1 มกราคม - 10 มีนาคม 2550 มีดังนี้
กำหนดให้มีการประชุมวิชาการโรคไข้เลือดออกระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2(Second International Conference on Dengue and Dengue Haemorrhagic Fever) กำหนดจัดประชุม ระหว่างวันที่ 13-17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 โรงแรมรอยัลภูเก็ต ซิตี้จังหวัดภูเก็ต ประธานคือ นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ Theme : Global Innovation for Combating Dengue Infection ปี 2550 : เตรียมสถานที่และการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ขณะนี้อยู่ระหว่างเตรียมข้อมูลที่จะนำเสนอบนเว็บไซต์
1. มาตรฐาน/แนวทางการดำเนินงาน กลยุทธ์ 1.1 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและ มาตรฐานของทีมปฏิบัติการควบคุมโรค (SRRT) ระดับพื้นที่ 1.2 การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมและเครือข่ายในการ ป้องกันควบคุมโรค โดยเฉพาะในเขตเมือง และโรงเรียน 1.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1.4 การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสาธารณะ
2. ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2550 • ภาพรวมทั้งประเทศ • 2.1 ร้อยละ 80 ของจังหวัดในพื้นที่เสี่ยง เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก • ได้ตามมาตรฐาน • 2.2 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย • - ร้อยละ 80ของชุมชน (เทศบาลเมือง/นคร และเขต กทม.) มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน (House Index)ได้ไม่เกิน 10 ( HI 10 ) • - ร้อยละ 80ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีค่า • ดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index =0 ( CI = 0) • - ร้อยละ 80ของโรงเรียนระดับประถม/มัธยม มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย • Container Index =0 ( CI = 0) • ระดับจังหวัด • อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (DF+DHF+DSS)ลดลงอย่างน้อย 20% • เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน 5ปี ย้อนหลัง (2544-2548)(คำนวณจากจำนวนผู้ป่วยรายเดือน)
2. ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2550 ความก้าวหน้า งานมาตรฐานงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกระดับจังหวัด 1. ประชุมเพื่อพิจารณามาตรฐานงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2550 โดยคณะผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักระบาดวิทยา และมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยมี นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ เป็นประธาน ณ ห้องประชุมสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2550 2. ดำเนินการแก้ไขมาตรฐานตามมติที่ประชุมเรียบร้อย และใช้ชื่อคู่มือการ ประเมินผลตามตัวชี้วัดงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ขณะนี้อยู่ระหว่าง เตรียมจัดส่งให้สคร. สสจ. และกทม. เพื่อถ่ายทอดวิธีการประเมินให้จังหวัดทราบ และดำเนินการต่อไป