1 / 23

ประชาสัมพันธ์

ประชาสัมพันธ์. Spin Doctor. แบบจำลองการประชาสัมพันธ์ของ J ames E. Grunig. Press agentry/publicity model Public Information model One-way asymmetrical model Two-way symmetrical model. Press agentry/publicity model. One-way communication

Télécharger la présentation

ประชาสัมพันธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาสัมพันธ์ Spin Doctor

  2. แบบจำลองการประชาสัมพันธ์ของ James E. Grunig • Press agentry/publicity model • Public Information model • One-way asymmetrical model • Two-way symmetrical model

  3. Press agentry/publicity model • One-way communication • ใช้การจูงใจและปั่นหัวให้ผู้รับสารทำอย่างที่องค์กรต้องการ • Uses persuasion and manipulation to influence audience to behave as the organization desires

  4. Public Information model • One-way communication • ใช้ข่าวแจกและเทคนิคการสื่อสารทางเดียวอื่นๆ เพื่อจะกระจายข่าวสารขององค์กร นัก PR = นักข่าวประจำองค์กร

  5. One-way asymmetrical model • One-way communication • ใช้การจูงใจและปั่นหัวให้ผู้รับสารทำอย่างที่องค์กรต้องการ โดยที่ไม่ได้ใช้การวิจัยเพื่อศึกษาว่าชาวบ้านเขารู้สึกอย่างไรกับองค์กร

  6. Two-way symmetrical model • Two-way communication • ใช้การสื่อสารเพื่อเจรจากับสาธารณะ แก้ไขความขัดแย้ง พร้อมทั้งโปรโมตความเข้าใจร่วมกันและการให้เกียรติกันระหว่างองค์กรกับสาธารณะ

  7. ทฤษฎีการ “จูน” ความหมาย Symbolic convergence theory

  8. ทฤษฎีการ “จูน” ความหมายSymbolic convergence theory • การใช้สำนวนหรือโวหารเพื่อสื่อถึงบางสิ่งบางอย่างด้วยความกระทัดรัด ในขณะเดียวกันก็อาจมีนัยบางอย่างแฝงอยู่ด้วย • “ภาษาภาพพจน์” • ใช้ภาษา วาทะ พร้อมทั้งฟังและวิเคราะห์เสียงตอบกลับ ด้วยวิสัยทัศน์ร่วมและสำนวนแฟนตาซี!

  9. ในความสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูกสาวในความสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูกสาว • ในสายตาลูกสาว พ่อเป็นเหมือนกับ... (วิสัยทัศน์ร่วม - Rhetorical vision) • อัศวินขี่ม้าขาว • บัดดี้ - เพื่อนซี้ • จอมเผด็จการ • เงาตามตัว

  10. ปฏิกิริยาจากผู้ฟัง ไม่สนใจ ปฏิเสธอย่างแข็งขัน เห็นพ้องกับวาทะ เห็นพ้องสำนวนแฟนตาซีของกลุ่ม ผู้ร่วมอุดมการณ์ มีผลต่อวัฒนธรรมของกลุ่ม-ไร้สำนวนแฟนตาซี มีเค้าว่า...ไม่ถูกกันมาก่อน แบบจำลองกระบวนการการสร้างสีสันให้กับสารและปฏิกิริยาตอบสนองของกลุ่ม • การเล่นสำนวน • การเล่นถ้อยคำ • คำพ้องเสียง • คำผวน • คำที่มีความหมายสองแง่สองมุม • ภาษาภาพพจน์ (Figure of speech) • อุปลักษณ์ (Metaphors) • คำเปรียบเทียบ (Similes) • บุคลาธิษฐาน (Personification) • การเทียบเคียง (Analogy) • เรื่องเล่า • โจ๊ก, นิทาน, มุข, ตำนาน, คำพรรณนา ผู้พูด

  11. การประเมินขีดความเห็นพ้องความหมาย (Evaluative concepts) • จิตสำนึกร่วม (Shared group consciousness) • ความเกี่ยวเนื่องระหว่างวิสัยทัศน์ร่วมกับความเป็นจริง (Rhetorical vision reality link) • คารม (Fantasy theme artistry)

  12. ปลูกฝัง จิตสำนึก Consciousness Creating สืบทอด จิตสำนึก Consci. Sustaining ปรับเปลี่ยน จิตสำนึก Consci. Decline ปลุก จิตสำนึก Consci. Raising การใช้จิตสำนึกร่วมเพื่อรณรงค์ 12 ระดับความเห็นพ้องกับวิสัยทัศน์ร่วม เวลา ละทิ้ง จิตสำนึก Consci. Terminus

  13. Consciousness Creating ปลูกฝังจิตสำนึก Principle of novelty แปลกใหม่ Principle of explanatory power สื่อความหมายได้ดี Principle of imitation เลียนแบบ จิตสำนึกร่วมของกลุ่ม

  14. จิตสำนึกร่วมของกลุ่ม • Consciousness Raising ปลุกจิตสำนึก • Principle of critical mass หักเหและอยู่ตัว • Principle of dedication การทุ่มเท

  15. Consciousness Sustaining สืบทอดจิตสำนึก Principle of shielding ตั้งป้อม Principle of rededication ทุ่มเทอีกครั้ง Principle of reiteration ทวนซ้ำย้ำเตือน จิตสำนึกร่วมของกลุ่ม

  16. Consciousness Decline ปรับเปลี่ยนจิตสำนึก Principle of explanatory deficiency คำอธิบายบกพร่อง Principle of exploding free speech การแสดงความเห็นเสรีอย่างกว้างขวาง Principle of resurfacing of competitive rhetorical visions การผุดตัวของวิสัยทัศน์ร่วมอื่นๆ จิตสำนึกร่วมของกลุ่ม

  17. Consciousness Terminus ละทิ้งจิตสำนึก Principle of rapid implosion การแตกดับอย่างรวดเร็ว จิตสำนึกร่วมของกลุ่ม

  18. ทฤษฎีการ"จูน" ความหมาย • ระเบียบวิธีวิจัย • วิเคราะห์ตัวบท วิเคราะห์เนื้อหา Q-methodology • การนำไปใช้ • การตลาด การสื่อสารในกลุ่มย่อย การรณรงค์ และการวิพากษ์วาทะ • Limitations ข้อจำกัด • ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปัจจัยต่างๆกับการตีความ • คำตอบที่ได้ไม่สามารถนำไปใช้ในกรณีอื่นๆได้เสมอไป • กระบวนการจูนความหมาย • มาตรฐานในการวินิจฉัยของแต่ละคนแตกต่างกัน

  19. ทิศทางการเมืองไทย ประชาธิปไตยย้อนกลับ รัฐบาล ทุนนิยมผูกขาดล้าหลัง นายกรัฐมนตรี บุรุษผู้แตะต้องไม่ได้ พรหมมินทร์ เลิศสุริย์เดช รองนายกรัฐมนตรี ตุลาชินคอร์ป ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี คนหมดไฟ วัยหมดฝัน วันมูหะหมัดนอร์ มะทา รมต. มหาดไทย ยุติธรรมอำพราง เนวิน ชิดชอบ รมช. ก. เกษตรและสหกรณ์ “ยี้แปลงร่าง” พงษ์เทพ เทพกาญจนา รมต. ก. พลังงาน “ทนาย ปตท. อัยการ กฟผ.” ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ รมต. ก. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม “ตุลาหนังหน้าไฟ” สุวัจน์ ลิปตพัลลภ รมต. ก. แรงงาน “รัฐมนตรีหลงกระทรวง” สภาผู้แทนราษฎร “สภาตราปั๊ม” วุฒิสภา “สภาร่างทรง” ฝ่ายค้าน “อิเหนาหมดท่า” สันต์ ศรุตานนท์ ผบ. ตร. “มือปราบม็อบ” ปลอดประสพ สุรัสวดี ปลัด ก. ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม “รัฐมนตรีนอกทำเนียบ” สมญานามนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ข้าราชการประจำ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และฝ่ายค้าน

  20. รัฐบาล “ทุนนิยมผูกขาดล้าหลัง” • การบริหารบ้านเมืองที่เน้นประสิทธิภาพภายใต้ปรัชญาการค้าเสรีและระบบทุนนิยม ทำให้กลุ่มทุนระดับชาติเข้าถึงกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ อันเป็นการควบรวมกิจการธุรกิจและการเมืองอย่างเปิดเผย ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่ารัฐบาลชุดปัจจุบันประกอบไปด้วยกลุ่มทุนผูกขาดอย่างน้อย 6 กลุ่มทุน เช่น ตระกูลชินวัตร ตระกูลจึงรุ่งเรืองกิจ ตระกูลมาลีนนท์ ตระกูลศิริวัฒนภักดี ตระกูลเจียรวนนท์ และตระกูลโพธารามิก จนถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นรัฐบาลที่มีการทุจริตคอรัปชั่นทางนโยบายสูงมาก • ดังนั้น ระบบทุนนิยมเสรีภายใต้การกำกับของอำนาจทางการเมืองจึงเป็นทุนนิยมเสรีแบบมือใครยาวสาวได้สาวเอา ปราศจากซึ่งความเป็นธรรมทั้งทางการค้าใช้อำนาจเหนือตลาดเอารัดเอาเปรียบผู้ประกอบการรายย่อยและไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้บริโภคหรือประชาชน

  21. ฝ่ายค้าน “อิเหนาหมดท่า” • บทบาททางการเมืองของบพรรคประชาธิปัตย์ในฐานะฝ่ายค้านในอดีตได้รับการยอมรับจากคอการเมืองว่าเป็นฝ่ายค้านที่ทำหน้าที่ถ่วงดุลตรวจสอบฝ่ายบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพลถล่มรัฐบาลแต่ละชุดมานับครั้งไม่ถ้วน • แต่การทำหน้าที่ของฝ่ายค้านในปัจจุบัน เสมือนคำพังเพยที่ว่า ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง นั่นคือ เป็นการตรวจสอบในสิ่งที่ตนเองก็เคยปฏิบัติและถูกกล่าวหามาก่อนเช่นกันเมื่อครั้งเป็นรัฐบาล ทำให้การตรวจสอบบางครั้งขาดน้ำหนัก นอกจากนี้ยังมีปัญหารุมเร้าให้พรรคเผชิญอยู่ จึงทำให้การตรวจสอบลดบทบาทลงตกอยู่ในฐานะ “อิเหนาหมดท่า” • ภาคประชาชนยังเชื่อว่าการเมืองแบบรัฐสภาหากปราศจากซึ่พลังตรวจสอบของฝ่ายค้านที่มีประสิทธิภาพแล้วการเมืองในสภาก็แทบไม่มีความหมายไม่สามารถสะท้อนผลประโยชน์ของประชาชนได้อย่างแท้จริง

  22. ขีดความเห็นพ้อง • จิตสำนึก • ความจริง ความหมายเชิงอุปมา (visions) สัมฤทธิ์ผล ความถูกต้อง สังคม • จับใจ โครงสร้างของความมีสีสัน Structure Plane โครงสร้างวิสัยทัศน์ร่วม • โครงสร้างวิสัยทัศน์ร่วม • บทบาท • เค้าโครงเรื่อง • ฉาก • แรงบันดาลใจ ประเด็น Here and now issues

  23. โฆษณา VS. ประชาสัมพันธ์ • โฆษณาคือสายลม - ประชาสัมพันธ์คือแสงแดด • โฆษณาคือเตาไมโครเวฟ - ประชาสัมพันธ์คือเตาถ่าน • โฆษณาคือภาพ - ประชาสัมพันธ์คือคำพูด • โฆษณาเข้าถึงทุกๆคน - ประชาสัมพันธ์เข้าถึงบางคน • โฆษณาแพง - ประชาสัมพันธ์ไม่แพง • โฆษณาตลก - ประชาสัมพันธ์จริงจัง • โฆษณาไม่น่าเชื่อ - ประชาสัมพันธ์น่าเชื่อถือ • โฆษณาคือการรักษาชื่อ - ประชาสัมพันธ์คือการสร้างชื่อ

More Related