1 / 38

การวิเคราะห์งานและการประเมินค่างาน

การวิเคราะห์งานและการประเมินค่างาน. การวิเคราะห์งาน. หลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์งาน. เป็นข้อเท็จจริง ไม่ใช่ การตัดสิน พิจารณาขอบเขตของงาน ไม่ใช่ ตัวบุคคล เป็นการพิจารณาขอบเขตงานในปัจจุบัน ไม่ใช่ การคาดหวังในอนาคตที่ยังไม่เกิดขึ้น

kert
Télécharger la présentation

การวิเคราะห์งานและการประเมินค่างาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์งานและการประเมินค่างานการวิเคราะห์งานและการประเมินค่างาน

  2. การวิเคราะห์งาน

  3. หลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์งานหลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์งาน เป็นข้อเท็จจริง ไม่ใช่ การตัดสิน พิจารณาขอบเขตของงาน ไม่ใช่ ตัวบุคคล เป็นการพิจารณาขอบเขตงานในปัจจุบัน ไม่ใช่ การคาดหวังในอนาคตที่ยังไม่เกิดขึ้น เป็นการปรับระดับตำแหน่ง ไม่ใช่ การแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่ง

  4. การวิเคราะห์งาน : ความหมาย คือกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะงาน  หน้าที่ความรับผิดชอบ  ลักษณะเฉพาะของบุคคลที่เหมาะสมกับงาน ความรู้  ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ คุณลักษณะอื่นๆ

  5. การกำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล การเลือกงานที่จะทำการวิเคราะห์ การกำหนดประเภทและขอบเขตของข้อมูล การกำหนดความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม การเตรียมการ What + Why ทบทวนทำความเข้าใจข้อมูลพื้นฐานที่มี เช่น ผังองค์กร คุณลักษณะของชั้นตำแหน่งงาน รายละเอียดลักษณะงาน การศึกษาข้อมูลขั้นพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง การออกแบบเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติงาน เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์งาน : ขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน : : :

  6. ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลของงานอย่างละเอียด ตลอดจนความรู้ ความสามารถ ทักษะเพื่อทำงานนั้นๆ โดยใช้แบบสอบถามหรือสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์งาน Job description Job specification การวิเคราะห์งาน : ขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน (ต่อ) : นำข้อมูลที่ได้มาจัดระเบียบ เรียบเรียงเป็น “แบบบรรยายลักษณะงาน (Job description) ” : นำผลการวิเคราะห์มาจัดทำรายละเอียดคุณสมบัติที่ต้องการสำหรับตำแหน่งนั้น :

  7. เทคนิควิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเทคนิควิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม (Questionnaires) การสัมภาษณ์ (Interview) การสังเกต (Observation) บันทึกการทำงาน(Logs/Diaries) การประชุมอภิปรายของผู้เชี่ยวชาญ (Panel of Experts) 7

  8. การวิเคราะห์งาน Job Analysis การวิเคราะห์งาน Job Analysis การบรรยายลักษณะงาน Job Description กำหนดคุณสมบัติเฉพาะ Job Specification Job Standard

  9. การวิเคราะห์งาน งาน (Task) ความรับผิดชอบ (Responsibilities) หน้าที่ (Duties) การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การสรรหา การคัดเลือก การพัฒนาและฝึกอบรม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่าตอบแทน สวัสดิการและเจ้าหน้าที่สัมพันธ์ สุขภาพและความปลอดภัย คำบรรยายลักษณะงาน (Job description) การวิเคราะห์งาน (Job analysis) การกำหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน (Job specification) ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) ความสามารถ (Abilities)

  10. แบบบรรยายลักษณะงาน JOB DESCRIPTION • คือ เอกสารที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงาน ประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่เห็นได้ชัด (Objectives facts) ที่อธิบายให้ทราบว่า •  งานนั้นคืออะไร •  งานนั้นทำไมต้องทำ • งานนั้นทำอย่างไร • งานนั้นทำกับใคร • งานนั้นต้องใช้คนที่มีคุณสมบัติอย่างไร • งานนั้นทำที่ไหนเมื่อไหร่

  11. JOB DESCRIPTION องค์ประกอบในแบบบรรยายลักษณะงาน • ข้อมูลเบื้องต้นของตำแหน่ง (Job Identification) • หน้าที่ความรับผิดชอบโดยสรุป (Job Summary) • รายละเอียดของงาน (Job Detail) • คุณสมบัติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (Job Requirement) • เงื่อนไขสภาวะแวดล้อม (EnvironmentalConditions) • ผู้รับรอง

  12. การวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดตำแหน่ง

  13. การวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดตำแหน่ง  โครงสร้าง ภารกิจ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง  ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ  คุณภาพและความยุ่งยากซับซ้อนของงาน  หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง  การประเมินค่างาน

  14.  โครงสร้าง ภารกิจ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ประเด็นวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ • นโยบายรัฐบาล • แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ • แผนบริหารราชการแผ่นดิน • แผนกลยุทธ์และมาตรการ • การบริหารทรัพยากรบุคคล • แผนกลยุทธ์ กระทรวง กรม • แผนงาน/โครงการ • งบประมาณ ความเชื่อมโยงระหว่างนโยบาย กลยุทธ์ และพันธกิจขององค์กร กับตำแหน่งที่จะกำหนด

  15.  โครงสร้าง ภารกิจ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ประเด็นวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ • กฎหมายว่าด้วยการจัด • ส่วนราชการ • แผนภูมิโครงสร้างการแบ่ง • ส่วนราชการ • การรายงานต่อผู้บังคับบัญชา • คำสั่งการมอบหมายงาน • หรือการมอบอำนาจ • การแบ่งงานภายในขององค์กร • ลำดับชั้นการบังคับบัญชา (Hierarchy) • ความกว้างในการควบคุมบังคับบัญชา (Span of Control) • ความสัมพันธ์ในแนวระนาบกับตำแหน่งอื่น

  16.  ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ ประเด็นวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ • แบบบรรยายลักษณะงาน • มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หน่วยงานอื่นที่มีภารกิจลักษณะ • เดียวกัน • ข้อเสนอแนวทางในการปรับปรุง • การทำงานให้มีประสิทธิภาพ • เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทำงาน • เทคโนโลยีที่มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ • ลักษณะการปฏิบัติงาน • (nature of work) • การปรับบทบาทภารกิจ • กระบวนการ ขั้นตอนและ • วิธีการทำงาน • การปรับปรุงการทำงาน • ประเภทตำแหน่ง ระดับตำแหน่ง และสายงานที่ควรกำหนด

  17.  ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ ประเด็นวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ • แผนงาน/โครงการใหม่ • คำสั่งการมอบหมายหน้าที่ใหม่ • อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย • กฎ ก.พ. ว่าด้วยการจัดประเภท • และระดับตำแหน่ง • มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • แบบบรรยายลักษณะงาน • ขอบเขตความรับผิดชอบ • การเพิ่มงาน (Job enlargement) • การขยายงาน (Job enrichment) • ผลสำเร็จของงานที่ต้องการ • คุณสมบัติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน

  18. คุณภาพและความยุ่งยากซับซ้อนของงาน ประเด็นวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ • ขนาดความรับผิดชอบ • ระดับการตัดสินใจ • ระดับความเสี่ยง • ผลกระทบของการทำงานที่จะเกิดขึ้น • ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ • ของการทำงาน • ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ • ที่ต้องใช้ในการทำงาน • คำสั่งการมอบหมายหน้าที่ใหม่ • อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย • กรณีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น • ปริมาณงานหรือผลการปฏิบัติงาน • จริงในปัจจุบัน (Actual work) • ผลสำเร็จของงานที่เกิดขึ้น • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • หน้าที่ความรับผิดชอบในแบบ • บรรยายลักษณะงาน

  19. คุณภาพและความยุ่งยากซับซ้อนของงาน ประเด็นวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ • ความชัดเจนเกี่ยวกับแนวทางการ • ทำงาน/การถูกควบคุมตรวจสอบ • การปฏิบัติงาน • ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติที่ยุ่งยาก • ความซับซ้อนด้านเทคนิควิธีการ • ความหลากหลายของงาน • ความคิดริเริ่มที่ต้องการในงาน • เทียบเคียงกับหน่วยงานอื่น • (Benchmark) • กระบวนงานหรือขั้นตอนต่างๆ • ที่มีการกำหนดไว้ • ขั้นตอนและวิธีการที่กำหนด • ไว้ในกฎหมาย • เทคนิคและวิธีการที่เป็น • มาตรฐานสากล/อาชีพ • อำนาจและหน้าที่ที่ปรากฏใน • กฎหมาย • ลักษณะการปฏิบัติงานใน • แบบบรรยายลักษณะงาน

  20.  หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ ประเด็นวิเคราะห์  โครงสร้าง ภารกิจ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง • พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน • พ.ศ. 2552 • กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร • ราชการแผ่นดิน • กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง • ทบวง กรม • กฎ ก.พ. ที่เกี่ยวข้อง • มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักเกณฑ์ตาม ว 17/2552 • กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง • มติ อ.ก.พ. กระทรวงที่ผ่านมา • ข้อจำกัดด้านกฎหมาย • ตรงตามหลักเกณฑ์และวิธีการตาม • ที่ ก.พ. กำหนด • ส่วนราชการสามารถดำเนินการได้ • ตามเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง  ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ  คุณภาพและความยุ่งยากซับซ้อนของงาน  หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง  การประเมินค่างาน

  21.  โครงสร้าง ภารกิจ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง การประเมินค่างาน  ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ  คุณภาพและความยุ่งยากซับซ้อนของงาน  หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง  การประเมินค่างาน

  22. หลักเกณฑ์การประเมินค่างานที่ ก.พ. กำหนด เป็นการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง ซึ่งมีวิธีดำเนินการ อย่างเป็นระบบในการจัดลำดับชั้นงาน เพื่อให้ได้ค่างานอย่าง สมเหตุสมผลและเป็นธรรม โดยการวิเคราะห์ลักษณะหน้าที่และ ความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงาน ตามองค์ประกอบหรือปัจจัยการประเมินที่มีระดับการวัด ที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐานให้ถูกต้อง เหมาะสม และ สอดคล้องตามคุณภาพของงาน

  23. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน ทำไมต้องมีการประเมินค่างาน เพื่อให้การกำหนดระดับตำแหน่งใน ของส่วนราชการต่างๆ เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน เป็นธรรม และไม่เหลื่อมล้ำกันระหว่างส่วนราชการ

  24. หลักการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 1 2 3 4 5 ต้องเข้าใจงาน – ต้องมีการวิเคราะห์งาน ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง มีมาตรฐาน - ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง ไม่มีอคติ – เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม ตรวจสอบให้แน่ใจ - ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง

  25. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th กระบวนการประเมินค่างาน วิเคราะห์งาน JA วินิจฉัย ตีค่างาน (คณะกรรมการ) ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD กำหนด ระดับ ตำแหน่ง วิธีการ JE ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair

  26. หลักเกณฑ์การประเมินค่างานตาม ว17/2552 ประกอบด้วย 3 หลักเกณฑ์ 1 หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ 2 หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานและระดับอาวุโส 3 หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง ตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญและระดับทรงคุณวุฒิ และตำแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ

  27. 1 หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ 2 หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานและระดับอาวุโส เกณฑ์กำหนดระดับตำแหน่ง องค์ประกอบการประเมินค่างาน 4 ด้าน 1. หน้าที่และความรับผิดชอบ (30 คะแนน) 2. ความยุ่งยากของงาน (30 คะแนน) 3. การกำกับตรวจสอบ (20 คะแนน) 4. การตัดสินใจ (20 คะแนน) อาวุโส คะแนน 80 ขึ้นไป ชำนาญการพิเศษ คะแนน 80 ขึ้นไป ชำนาญงาน คะแนน 65 ขึ้นไป ชำนาญการ คะแนน 65 ขึ้นไป ประเภทวิชาการ ประเภททั่วไป

  28. 3 หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง ตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญและระดับทรงคุณวุฒิ และตำแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ องค์ประกอบหลักในการประเมินค่างาน 3 ด้าน I องค์ประกอบหลักด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน II องค์ประกอบหลักด้านความสามารถในการแก้ปัญหา III องค์ประกอบหลักด้านภาระรับผิดชอบ

  29. กระบวนงานและองค์ประกอบการประเมินค่าของงานกระบวนงานและองค์ประกอบการประเมินค่าของงาน กระบวนงาน OUTPUT THROUGHPUT INPUT II III I องค์ประกอบที่ใช้ในกระบวนงาน ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ความรู้และทักษะ ที่จำเป็นในงาน ภาระรับผิดชอบ 1 6 4 ความรู้และความชำนาญ กรอบของอำนาจและอิสระในการคิด อิสระในการปฏิบัติงาน องค์ประกอบที่ใช้ในการประเมิน ค่างาน 2 7 ผลกระทบจากการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ 5 ความท้าทายในการคิดแก้ปัญหา 8 3 การสื่อสาร และปฏิสัมพันธ์ ลักษณะงานที่ปฏิบัติของตำแหน่ง

  30. การตรวจสอบลักษณะงาน งานค้นคว้าวิจัย งานวิจัยและพัฒนา งานออกแบบ งานสนับสนุน งานบริการ งานหลัก P4 P3 P2 P1 L A1 A2 A3 A4 งานวิจัยเชิงประยุกต์จากทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว งานออกแบบระบบที่ต้องใช้รากฐานของทฤษฎีแต่จะต้องมีการสร้างทฤษฎีใหม่ งานออกแบบเชิงก้าวหน้าประยุกต์วิธีการ งานเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่โดยใช้พื้นฐานที่มีอยู่แล้ว งานด้านการคิดสร้างสรรค์ (การวางแผน และการออกแบบระบบ) งานวางแผนองค์กร งานออกแบบโครงสร้างคอมพิวเตอร์ งานที่ปรึกษา งานบัญชี งานด้านการเงิน งานธุรการ งานด้าน บุคลากร งานธุรการ งานโฆษณา งานจัดซื้อ งานวางแผนเชิงกลยุทธ์ งานด้านอุตสาหกรรมสัมพันธ์ งานสินเชื่อ งานจัดการด้ายผลิตภัณฑ์ งานวางแผนทรัพยากรบุคคล งานบริการ งานด้านการตลาด งานจัดซื้อ งานบัญชี งานจัดการโครงการ งานสนับสนุนทางเทคนิค งานบำรุงรักษา งานควบคุมดูแล งานการขาย งานการจัดการสายหลัก งานการจัดการด้านการผลิต ผู้จัดการหน่วยธุรกิจ งานการผลิต งานการขาย งานวิจัยเพื่อสร้างรากฐานของทฤษฎีใหม่

  31. การประเมินค่างานโดยใช้โปรแกรมประเมินค่างานการประเมินค่างานโดยใช้โปรแกรมประเมินค่างาน เป็นเครื่องมือช่วยในการพิจารณากำหนดตำแหน่ง ของส่วนราชการเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ภายใต้ องค์ประกอบหลักในการประเมินค่างาน 3 ด้าน 8 องค์ประกอบย่อย และการวัดความสัมพันธ์ใน การประเมินค่างาน ซึ่งประกอบด้วยข้อคำถามรวม 20 ข้อ

  32. ข้อคำถาม 20 ข้อ ในโปรแกรมประเมินค่างาน I ความรู้และทักษะ ที่จำเป็นในงาน ข้อ 1 ระดับการศึกษา ข้อ 2 ประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้อง ข้อ 3 ความรู้ที่จำเป็นในงาน ข้อ 4 ความรู้ ความสามารถ และทักษะในเชิงเทคนิค 1 ความรู้และความชำนาญ 2 ข้อ 5 การบริหารจัดการ ข้อ 6 ลักษณะของการทำงานในทีม ข้อ 7 การวางแผน การบริหารจัดการ 3 การสื่อสาร และปฏิสัมพันธ์ ข้อ 8 มนุษยสัมพันธ์ที่จำเป็นในงาน ข้อ 9 การติดต่อสื่อสารที่จำเป็นในงาน

  33. ข้อคำถาม 20 ข้อ ในโปรแกรมประเมินค่างาน II ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ข้อ 10 กรอบแนวคิดสำหรับการแก้ปัญหา ข้อ 11 อิสระในการคิด 4 กรอบของอำนาจและอิสระในการคิด 5 ความท้าทายในการคิดแก้ปัญหา ข้อ 12 ความท้าทายในงาน ข้อ 13 การวิเคราะห์ข้อมูล

  34. ข้อคำถาม 20 ข้อ ในโปรแกรมประเมินค่างาน III ภาระรับผิดชอบ ข้อ 14 อิสระในการทำงาน ข้อ 15 การได้รับอำนาจในการทำงาน ข้อ 16 อำนาจในการตัดสินใจ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน 7 ผลกระทบจากการปฏิบัติงาน ข้อ 17 ผลกระทบจากการปฏิบัติงาน 8 ลักษณะงานที่ปฏิบัติของตำแหน่ง ข้อ 18 ลักษณะงานที่ปฏิบัติของตำแหน่ง การตรวจสอบ(ลักษณะงาน) ผลการประเมินค่างาน ข้อ 19 วัตถุประสงค์หลักของงานของตำแหน่ง ข้อ 20 ประเภทและระดับตำแหน่ง

  35. กลไกประมวลผลในโปรแกรมการประเมินค่างานกลไกประมวลผลในโปรแกรมการประเมินค่างาน I ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้และทักษะ ที่จำเป็นในงานและ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความรู้และทักษะ ที่จำเป็นในงาน โปรแกรมจะมีการตรวจสอบความคงเส้นคงวา และความน่าเชื่อถือของคะแนนเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่ถูกต้องที่สุด II ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ความสามารถ ในการแก้ปัญหาและ ภาระรับผิดชอบตามการตรวจสอบ Profile Check III ภาระรับผิดชอบ

  36. คำสั่งและการประมวลผลในโปรแกรมประเมินค่างานคำสั่งและการประมวลผลในโปรแกรมประเมินค่างาน การประเมินด้วย 20 ข้อคำถามในโปรแกรมประเมินค่างานนั้น แต่ละคำตอบจะไปเชื่อมโยงกับปัจจัยในเอกสารตารางการประเมินค่างานที่ ก.พ.กำหนด (CSC Guide Chart) โปรดดูตามเอกสารแนบ เพื่อไปคำนวณเป็นค่าคะแนน (CSC Points) ตามที่ใช้จัดระดับชั้นงานตามประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งในมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 ได้อย่างถูกต้อง เป็นธรรม และเป็นมาตรฐานเดียวกัน ACCOUNTABILITY ตำแหน่งงาน: นักทรัพยากรบุคคล ผลการประเมิน ค่าขนาดงาน PROBLEM SOLVING KH DI3 175 KNOW-HOW PS D3(29) 50 AC C+2S 76 TOTAL 301 ประเมินค่างานในโปรแกรม CSC Guide Chart ผลคะแนน CSC Points

  37. เกณฑ์การกำหนดระดับตำแหน่งเกณฑ์การกำหนดระดับตำแหน่ง 1. ค่าคะแนนในการประเมินค่างาน 1.1 ตำแหน่งประเภทอำนวยการ - ระดับสูง ได้คะแนน 725 - 1,035 คะแนน 1.2 ตำแหน่งประเภทวิชาการ - ระดับเชี่ยวชาญ ได้คะแนน 631 - 900 คะแนน - ระดับทรงคุณวุฒิ ได้คะแนน 901 - 1,240 คะแนน 1.3 ตำแหน่งประเภททั่วไป - ระดับทักษะพิเศษ ได้คะแนน 452 - 900 คะแนน 2. ผลการประเมินของแต่ละองค์ประกอบ มีความสอดคล้องกัน ผลของการประเมินค่างาน

  38. ขั้นตอนการประเมินค่างานขั้นตอนการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน ฝ่ายเลขานุการ 1.รวบรวมข้อมูลที่ ได้จากการวิเคราะห์งาน 2.วิเคราะห์ประเมินงาน ของตำแหน่ง แล้วเลือกตอบ 20 ข้อคำถามใน แบบประเมินค่างาน 3.เสนอคณะกรรมการฯ คณะกรรมการ กำหนดตำแหน่ง ระดับสูง 1.พิจารณาตามหลักเกณฑ์ การกำหนดตำแหน่ง 2. พิจารณาการประเมินค่างาน ในแบบประเมินค่างานที่ฝ่าย เลขานุการเสนอ 3. ให้ฝ่ายเลขานุการนำคำตอบ ไปบันทึกลงในโปรแกรม ประเมินค่างานและประมวลผล อ.ก.พ.ฯ กระทรวง พิจารณา กำหนดตำแหน่ง

More Related