290 likes | 393 Vues
หลักการและเหตุผลของการปรับปรุง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. เอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักวิชาการไม่ถือว่าเป็นหลักสูตร แกนกลาง ๒. ครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจ ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา.
E N D
หลักการและเหตุผลของการปรับปรุงหลักการและเหตุผลของการปรับปรุง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
เอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักวิชาการไม่ถือว่าเป็นหลักสูตร แกนกลาง ๒. ครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจ ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
๓.หลักสูตรสถานศึกษาหลายโรงเรียนมีลักษณะลอกเลียนกัน ไม่สอดคล้องกับสภาพบริบทและท้องถิ่นของโรงเรียน
๔. ศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรของแต่ละโรงเรียนแตกต่างกันทำให้เกิดปัญหาด้านคุณภาพการจัดการศึกษา
๕. ปัญหาการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างโรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา
๖. หลักสูตรมีลักษณะเนื้อหาที่แน่นเกินไป คือต้องเรียน ๘ กลุ่มสาระ ทำให้นักเรียนต้องเรียนหนัก ไม่มีเวลาในการทำกิจกรรมกลุ่ม และการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
๗. การจัดการเรียนการสอนของครูตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไม่สะท้อนผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ที่หลักสูตรแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กำหนด
ลักษณะ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน • กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ • กำหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง • กำหนดโครงสร้างหลักสูตร • เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • ขยายผลหลักสูตรแกนกลาง • กำหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น • นิเทศติดตาม ช่วยเหลือ สนับสนุน
สถานศึกษา หลักสูตรแกนกลาง + สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น + สถานศึกษาเพิ่มเติม
หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
โครงสร้าง • กำหนดวิสัยทัศน์ • มีหลักการสำคัญ ๖ ข้อ • กำหนดจุดหมาย ๕ ข้อ • สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน • ความสามารถในการสื่อสาร • ความสามารถในการคิด • ความสามารถในการแก้ปัญหา • ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต • ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียน • เป็นอยู่พอเพียง • รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ • รักความเป็นไทย • มีจิตสาธารณะ • สถานศึกษาสามารถกำหนด เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับบริบทและจุดเน้น
มาตรฐานการเรียนรู้คำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชะและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ
มีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้างมีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง • ปรับมาตรฐานการเรียนรู้จาก ๗๖ มาตรฐานเหลือ ๖๗ มาตรฐาน • ใช้ตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้แทนผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง • ส่วนกลางกำหนดโครงสร้างหลักสูตรให้ • ส่วนกลางกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล • ส่วนกลางกำหนดเกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ • กำหนดระดับชั้นแทนช่วงชั้น
โครงสร้างหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนปีละ ๑๒๐ ชั่วโมงทุกชั้นปี ม.๔-๖ จำนวน๓๖๐ ชั่วโมง
ปรับช่วงชั้นเป็นระดับชั้นปรับช่วงชั้นเป็นระดับชั้น • ระดับประถมศึกษา ชั้น ป ๑ - ป ๖ • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ม ๑ – ม ๓ • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ๔ – ม ๖
การจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการจัดการเรียนการสอนและการวัดผล • ระดับประถมศึกษา วัดผลเป็นรายปี • ระดับมัธยมศึกษา ต้น + ปลาย วัดผลเป็นรายภาค
เกณฑ์การจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา ๑ มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๘๐ % ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านเกณฑ์คามที่สถานศึกษากำหนด ๓ ได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ๔ ได้รับการประเมินการอ่าน การคิดวิเคราะและการเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถาน ศึกษากำหนด
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น • มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๘๐ % ของเวลาเรียนแต่ละรายวิชา • ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต เป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ได้หน่วยกิตตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ เป็นพื้นฐาน ๖๓ และเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๑๔ • ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนด • ได้รับการตัดสินทุกรายวิชา • ได้รับการประเมินการอ่าน การคิดวิเคราะและการเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถาน ศึกษากำหนด
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๘๐ % ของเวลาเรียนแต่ละรายวิชา • ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๘๑ หน่วยกิต เป็นรายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ได้หน่วยกิตตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ เป็นพื้นฐาน ๓๙ และเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๓๘ • ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษกำหนด • ได้รับการตัดสินทุกรายวิชา • ได้รับการประเมินการอ่าน การคิดวิเคราะและการเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถาน ศึกษากำหนด
การให้ระดับผลการเรียนการให้ระดับผลการเรียน • ระดับประถมศึกษาอาจให้ผลการเรียนผ่านหรือไม่ผ่าน ร้อยละ เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรที่แสดงระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพของผลการปฏิบัติ • ระดับมัธยมศึกษาใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน ๘ ระดับ • การประเมินการอ่าน การคิดวิเคราะและการเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดี ผ่านและไม่ผ่าน
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔กับ๒๕๕๑