1 / 17

ความเสี่ยงโครงการ

ความเสี่ยงโครงการ. หมายถึง เหตุการณ์หรือการกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้ความไม่แน่นอนของสถานการณ์และส่งผลกระทบต่อเป้าประสงค์ใหญ่ตามยุทธศาสตร์การบริหารราชการและกระทรวง. การประเมินความเสี่ยง ( Risk Assessment).

Télécharger la présentation

ความเสี่ยงโครงการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเสี่ยงโครงการ หมายถึง เหตุการณ์หรือการกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้ความไม่แน่นอนของสถานการณ์และส่งผลกระทบต่อเป้าประสงค์ใหญ่ตามยุทธศาสตร์การบริหารราชการและกระทรวง

  2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ๑. โอกาสที่จะเกิดความเสียหาย คือ การพิจารณาว่าปัจจัยเสี่ยงมีโอกาสที่จะเกิดในระดับมากน้อยเพียงใด ๒. ความเสียหายที่จะกระทบต่อองค์กรหรือแผนปฏิบัติราชการ คือ การนำปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัยมาพิจารณาว่า หากเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อหน่วยงานมากน้อยเพียงไหน ๓. ความสำคัญของความเสี่ยงที่องค์กรเผชิญอยู่ คือ การลำดับความสำคัญของแต่ละปัจจัยเสี่ยง เพื่อพิจารณาว่า ความเสี่ยงใดควรพิจารณาจัดการก่อนหลัง

  3. ระบุ ความเสี่ยง ๒ ๔ การประเมิน ความเสี่ยง ติดตามและ ทบทวน ๓ จัดการ ความเสี่ยง วงจรความเสี่ยง

  4. ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

  5. ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล (ต่อ)

  6. ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล (ต่อ)

  7. กระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยงกระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยง ใช้งบฯ สูงสุด กระทรวง คัดเลือกโครงการสำคัญ ๕ อันดับ ผลักดันลงทุกจังหวัด อาศัยความร่วมมือ ส่วนราชการ > ๒ วิเคราะห์โครงการ ระบุความเสี่ยง สนองตอบยุทธศาสตร์ กระทรวงในระดับสูง ประเมินความเสี่ยง จัดอันดับโครงการ ที่มีดัชนีความเสี่ยงสูง เสนอแนะ วิธีจัดการความเสี่ยง

  8. วิเคราะห์โครงการ ขั้นที่ ๑ ระบุความเสี่ยง ขั้นที่ ๒ ให้ค่าความเสี่ยง ขั้นที่ ๓ ลำดับดัชนีความเสี่ยง จากมากไปน้อย โอกาส  ผลกระทบ จำนวนข้อ ขั้นที่ ๔ การระบุความเสี่ยง ความไม่สอดคล้องของแผน/โครงการ งบประมาณ ไม่สนองความต้องการของประชาชน ความไม่สอดคล้องกี่ข้อ เสี่ยงงบประมาณกี่ข้อ ไม่สนองความต้องการกี่ข้อ โอกาสเกิดความเสี่ยง (๕ คะแนน) ผลกระทบที่ทำให้โครงการไม่สำเร็จ (๕ คะแนน)

  9. ไม่สนองความต้องการของประชาชนไม่สนองความต้องการของประชาชน ความไม่สอดคล้องของแผน/โครงการ เสี่ยงงบประมาณ ๑. งบประมาณ ๑. เป้าหมาย ๑. ประชาชน ๒. วัตถุประสงค์ ไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับเป้าหมาย ไม่มีส่วนร่วม การดำเนินงาน เป้าหมาย , การดำเนินงาน ไม่กระจายผลประโยชน์ให้ทั่วถึง เป็นเหตุให้ไม่โปร่งใส ปริมาณ , คุณภาพ เป็นเหตุให้ต้องเลี่ยงระเบียบ กิจกรรม ไม่ได้รับผลประโยชน์ ไม่สนองความต้องการ เป็นเหตุให้ไม่คุ้มค่า ๑. ขั้นตอนวิเคราะห์โครงการ

  10. ๓. ขั้นตอนให้ค่าความเสี่ยง โอกาสเกิดความเสี่ยง

  11. ผลกระทบที่ทำให้โครงการไม่สำเร็จ ๓. ขั้นตอนให้ค่าความเสี่ยง (ต่อ)

  12. ตัวอย่าง ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน Key RiskArea ๔. ขั้นตอนลำดับดัชนีความเสี่ยงจากมากไปน้อย การคำนวณดัชนีความเสี่ยง

  13. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย VALUE FOR MONEY 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการกระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การตรวจราชการเพื่อกำจัดความเสี่ยง ความเสี่ยงในแต่ละด้าน วิเคราะห์ข้อเสนอแนะตามการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

  14. ตัวอย่าง มิติประสิทธิภาพ : คือการวิเคราะห์สาเหตุของความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ และการให้ข้อเสนอแนะ โดยมุ่งเน้นไปที่เกณฑ์คุณภาพ ในหมวดการจัดการภาครัฐด้านการนำองค์กร หมวดการวางแผนยุทธศาสตร์ และหมวดการจัดกระบวนการ เหตุผลที่ประเมินระดับความเข้มแข็งที่ระดับ ๓ เนื่องจาก............................................ .............................................................................................................................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................................................................................................................

  15. ล.๓ แบบรายงานการดำเนินงานหลังการตรวจราชการ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด....................................... รับการตรวจราชการจากผู้ตรวจราชการกระทรวง...................................... ในวันที่................................. ลงชื่อ...............................วธ.จ. (...............................) ......./................/.........

  16. สวัสดี หน่วยรับการตรวจเก่ง ดี มีสุข

More Related