1 / 44

Cellular Manufacturing

Cellular Manufacturing. การผลิตแบบ เซลลูล่าร์ คืออะไร ?. 8 Waste. ความสำคัญของการจัดเรียงคนและอุปกรณ์ในเซลล์การผลิต. การป้อนชิ้นงานใส่เครื่องจักรโดยมีชิ้นงานระหว่างทำเพียงหนึ่งชิ้น. การผลิตแบบเป็นชุดใหญ่ๆ ก่อให้เกิดความสูญเปล่า. การผลิตที่มีความหลากหลายสูง.

kirima
Télécharger la présentation

Cellular Manufacturing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cellular Manufacturing

  2. การผลิตแบบเซลลูล่าร์ คืออะไร?

  3. 8 Waste

  4. ความสำคัญของการจัดเรียงคนและอุปกรณ์ในเซลล์การผลิตความสำคัญของการจัดเรียงคนและอุปกรณ์ในเซลล์การผลิต

  5. การป้อนชิ้นงานใส่เครื่องจักรโดยมีชิ้นงานระหว่างทำเพียงหนึ่งชิ้นการป้อนชิ้นงานใส่เครื่องจักรโดยมีชิ้นงานระหว่างทำเพียงหนึ่งชิ้น

  6. การผลิตแบบเป็นชุดใหญ่ๆ ก่อให้เกิดความสูญเปล่า

  7. การผลิตที่มีความหลากหลายสูงการผลิตที่มีความหลากหลายสูง

  8. การผลิตแบบเซลลูล่าร์ช่วยปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันการผลิตแบบเซลลูล่าร์ช่วยปรับปรุงความสามารถในการแข่งขัน

  9. การทำงานในเซลล์การผลิตการทำงานในเซลล์การผลิต

  10. การปฏิบัติการในเซลล์รูปตัว U

  11. การเปลี่ยนมาเป็นพนักงานควบคุมเครื่องจักรหลายๆ เครื่องที่มีทักษะความรู้ความสามารถที่หลากหลาย

  12. เพราะเป้าหมายคือเพื่อดำเนินการผลิตชิ้นงานเพียงหนึ่งชิ้นหรือ 2-3 ชิ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่ง • ช่วยประหยัดเนื้อที่การปฏิบัติงาน • ช่วยลดระยะทางในการเดินเมื่อจัดวางเครื่องจักรไว้ติดๆ กัน • เนื้อที่เหลือสำหรับ WIP ลดน้อยลง • เครื่องจักรสามารถติดตั้งได้อย่างรวดเร็ว • เคลื่อนที่ได้สะดวก การใช้เครื่องจักรที่มีความยืดหยุ่นและมีขนาดเล็ก

  13. การใช้เทคนิคการควบคุมตัวเองโดยอัตโนมัติ (Jidoka) เพื่อขจัดการคอยเฝ้าดูเครื่องจักร

  14. องค์ประกอบเบื้องต้นในการออกแบบเซลล์องค์ประกอบเบื้องต้นในการออกแบบเซลล์ จะอธิบายถึงช่วงพื้นฐาน 3 ช่วงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทำงานไปเป็นเซลล์การผลิตคือ : การทำความเข้าใจในสภาวะปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงไปเป็นการวางผังตาม “กระบวนการผลิต” (Process-based Layout) การปรับปรุงการผลิตอย่างต่อเนื่อง

  15. ช่วงที่ 1 : การทำความเข้าใจในสภาวะปัจจุบัน - Process ใดบ้างที่จะต้องเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนแปลง 1. เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการผลิต -ส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix)

  16. แผนภูมิการวิเคราะห์แบบ PQ ที่แสดงให้เห็นอัตราส่วน PQ 20:80 (ความหลากหลายต่ำ)

  17. แผนภูมิการวิเคราะห์แบบ PQ ที่แสดงให้เห็นอัตราส่วน PQ 40:60 (ความหลากหลายต่ำ)

  18. - ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต • จำนวนกะต่อวัน • จำนวนชั่วโมงกะต่อเวลาหยุดพัก • จำนวนวันทำงานต่อเดือน • อัตราส่วนพนักงานต่อการทำงาน • ปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ประจำเดือนของลูกค้า • วิธีการมอบหมายงาน • การหมุนเวียนของสินค้าคงคลังของสินค้าสำเร็จรูปต่อเดือน

  19. 2. จัดทำเอกสารที่เกี่ยวกับแผนผังการไหลในปัจจุบัน • การวิเคราะห์เส้นทางของการบวนการ (Process Route Analysis) • จะช่วยให้สามารถระบุกระบวนการผลิตที่คล้ายคลึงกันระหว่างผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ Product Family

  20. การวิเคราะห์เส้นทางของกระบวนการการวิเคราะห์เส้นทางของกระบวนการ

  21. การเขียนผังกระบวนการ (Process Map) • ทำให้เห็นถึง • - Equipment Layout • - Standard Work Sheet • สิ่งที่ต้องบันทึกเพิ่ม • - ระยะทางที่ผลิตภัณฑ์เดินทางไปในช่วงที่ดำเนินการผลิต • - ปริมาณในระหว่างกระบวนการผลิต (WIP) ณ เวลาหนึ่งที่กำหนด • - จำนวนพนักงานที่ต้องใช้ในการดำเนินกระบวนการผลิตในปัจจุบัน

  22. แผ่นแสดงงานที่เป็นมาตรฐานแผ่นแสดงงานที่เป็นมาตรฐาน

  23. 3. จับเวลาในกระบวนการผลิต Cycle Time หามาแล้วนำมาเฉลี่ยของในแต่ละกระบวนการ แผ่นจับเวลา

  24. หลังจากที่ไปจับเวลาแต่ละจุดปฏิบัติการมาแล้ว ทีมงานต้องมาคำนวณหาเวลานำของกรบวนการตัวอย่าง สำหรับกระบวนการโดยรวมทั้งหมด เวลานำของกระบวนการจะประกอบด้วยรอบเวลาในการผลิตของแต่ละจุดปฏิบัติการ พร้อมด้วยเวลาที่ต้องการใช้ในการขนส่งชิ้นงา WIP และเครื่องมือระหว่างจุดปฏิบัติการต่างๆ อัตราส่วนการเพิ่มคุณค่า

  25. 4. คำนวณกำลังการผลิตของกระบวนการและค่า Takt Time ตารางกำลังการผลิตของกระบวนการ

  26. Takt Time

  27. 5. สร้างแผ่นงานเชื่อมโยงการทำงานที่เป็นมาตรฐาน (Standard Work Combination Sheet) แผ่นงานเชื่อมโยงการทำงานที่เป็นมาตรฐาน

  28. หัวข้อวิเคราะห์หลัก

  29. ช่วงที่ 2 : การเปลี่ยนแปลงไปเป็นการวางผังตาม “กระบวนการผลิต” 1. ประเมินทางเลือก องค์ประกอบ 4 อย่างของการผลิต

  30. 2. ออกแบบผังใหม่ที่อาจเป็นไปได้ • วางผังเครื่องจักรตามลำดับ • วางติดกันโดยให้มีที่ว่างสำหรับปริมาณ WIP ที่น้อยที่สุด • วางเครื่องจักรเป็นรูปตัว U,C โดยให้เครื่องแรกและสุดท้ายอยู่ใกล้กันที่สุด • ทำการไหลให้ทวนเข็มนาฬิกา (คนส่วนใหญ่ถนัดขวา)

  31. 3. เคลื่อนย้ายเครื่องจักร การเคลื่อนย้ายเครื่องจักรเพื่อสร้างเซลล์

  32. 4. จัดทำเอกสารวิธีการปฏิบัติงานแบบใหม่ Standard Operating Procedure : SOP แผนแสดงงานที่เป็นมาตรฐานที่แก้ไขแล้ว

  33. 5. ทดสอบเพื่อรับรองผลการปรับปรุง ทันตาม Takt Time หรือไม่

  34. ช่วงที่ 3 : การปรับปรุงกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนผังให้เป็นเซลล์ใหม่เป็นเพียงการเริ่มต้น 1. ทำให้รอบเวลาในการผลิตสั้นลง สามารถมองเห็นคอขวดที่เกิดขึ้นในเซลล์ได้อย่างชัดเจน

  35. 2. ทำให้เวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนเครื่องจักรลดลง ขั้นตอนการทำ SMED

  36. 3. ขจัดข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบ 4 อย่างของการทำ ZQC

  37. ตัวอย่างของ Poka-Yoke

  38. 4. ลดการเกิดเหตุขัดข้องของอุปกรณ์ นิยามของคำว่า TPM

  39. เครื่องมือในการทำงานเป็นทีมสำหรับการผลิตแบบเซลลูลาร์เครื่องมือในการทำงานเป็นทีมสำหรับการผลิตแบบเซลลูลาร์

  40. 1. การทำให้สภาพที่ทำงานเป็นมาตรฐานด้วยระบบ 5ส ระบบ 5 ส

  41. 2. การใช้เทคนิคการจัดการด้วยสายตาเพื่อควบคุมการผลิตและความปลอดภัย กระดานอันดง

  42. 3. การดำเนินกิจกรรมบำรุงรักษาด้วยตนเอง การบำรุงรักษาด้วยตนเองเกี่ยวข้องกับทุกๆคน

  43. 4. การใช้กระดานกิจกรรม กระดานกิจกรรม

More Related