1 / 66

น้ำใช้ในระบบน้ำหล่อเย็น

น้ำใช้ในระบบน้ำหล่อเย็น. น้ำหล่อเย็นจะควบคุมอุณหภูมิของ เครื่องจักร Process Product โดยการถ่ายเทความร้อน จากกระบวนการที่ร้อนมายังน้ำหล่อเย็น ( Heat exchange ) ด้วยวิธีการ Indirect ไม่ได้สัมผัสกับชิ้นงานโดยตรง. ดังนั้นสิ่งปนเปื้อน คือ อุณหภูมิที่สูงขึ้น. Cooling Tower.

Télécharger la présentation

น้ำใช้ในระบบน้ำหล่อเย็น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. น้ำใช้ในระบบน้ำหล่อเย็นน้ำใช้ในระบบน้ำหล่อเย็น

  2. น้ำหล่อเย็นจะควบคุมอุณหภูมิของน้ำหล่อเย็นจะควบคุมอุณหภูมิของ เครื่องจักร Process Product โดยการถ่ายเทความร้อน จากกระบวนการที่ร้อนมายังน้ำหล่อเย็น (Heat exchange) ด้วยวิธีการ Indirect ไม่ได้สัมผัสกับชิ้นงานโดยตรง ดังนั้นสิ่งปนเปื้อน คือ อุณหภูมิที่สูงขึ้น

  3. Cooling Tower น้ำหล่อเย็นอุณหภูมิสูง น้ำกลับมาใช้ใหม่ (อุณหภูมิต่ำ)

  4. ประโยชน์ในการปรับปรุงประโยชน์ในการปรับปรุง • ลดปริมาณการใช้น้ำ • คุณภาพน้ำดี ยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร • ประสิทธิภาพดีขึ้น ลดการใช้พลังงานลง

  5. แผนผังระบบเปิด

  6. แผนผังระบบปิด

  7. แผนผังระบบใช้ครั้งเดียวแผนผังระบบใช้ครั้งเดียว

  8. รูปแบบ Chiller ที่ สทน.

  9. สัญลักษณ์ที่ควรทราบ ในระบบน้ำหล่อเย็นแบบหมุนเวียน • Recirculating water ( R ) • Holding water ( H ) • Differential Temperature ( T ) • Evaporation loss ( E ) • Drift loss ( D ) หรือ Windage loss ( W ) • Blow down ( B ) • Make up ( M ) • Cycle of concentration ( N )

  10. สารที่ต้องการหล่อเย็นอุณหภูมิสูงสารที่ต้องการหล่อเย็นอุณหภูมิสูง Cooling Tower Heat Exchanger น้ำหล่อเย็นอุณหภูมิต่ำ น้ำหล่อเย็นอุณหภูมิสูง สารที่ต้องการหล่อเย็นอุณหภูมิต่ำ หลักการทำงานของระบบน้ำหล่อเย็น

  11. หลักการทำงานของระบบน้ำหล่อเย็นหลักการทำงานของระบบน้ำหล่อเย็น การลดอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นใน Cooling Tower จะใช้หลักความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Latent Heat of Evaporation) น้ำ 1 กก. อุณหภูมิลดลง 1 oC ให้พลังงานความร้อน 1kcal น้ำ 1 กก. ระเหยกลายเป็นไอที่อุณหภูมิ 40 oC ใช้พลังงานความร้อน ~ 578kcal การทำงานจะให้อากาศแห้งพาให้น้ำหล่อเย็นระเหยกลายเป็นไอ น้ำหล่อเย็นอุณหภูมิลดลง

  12. สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้องสภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง • ความชื้นในอากาศ (วัดโดยใช้กระเปาะแห้งกระเปาะเปียก) ควรมี ที่ที่อากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวก • อุณหภูมิของน้ำหล่อเย็น  อุณหภูมิน้ำใน Cooling Tower ไม่สามารถทำให้ต่ำกว่าอุณหภูมิกระเปาะเปียกได้  ไม่สามารถกำหนดให้น้ำระเหยในอัตราที่ต้องการได้ แต่วัดได้ว่าน้ำระเหยเท่าใด

  13. อุปกรณ์และวัสดุในระบบน้ำหล่อเย็นอุปกรณ์และวัสดุในระบบน้ำหล่อเย็น • หอหล่อเย็น (Cooling Tower) • Natural Draft อากาศจะหมุนเวียนโดยธรรมชาติ • Mechanical Draft อากาศจะหมุนเวียนโดยพัดลม • Force Draft • Induce Draft • Counter Flow • Cross Flow

  14. อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) สามารถใช้เป็น Cooler, Heater, Condenser และ Evaporator ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ โดยโครงสร้างสามารถแบ่งเป็น • Tubular Heat Exchanger • Double Tube Heat Exchanger • Coil Heat Exchanger • Irrigation Cooler • Plate Heat Exchanger • Air Fan Cooler

  15. Cooling Water Circulation Pump • วัสดุที่ใช้ อุปกรณ์ที่สัมผัสกับน้ำหล่อเย็น มี Heat Exchanger, ท่อ, ปั๊มน้ำ, หอหล่อเย็น, อ่างเก็บน้ำหอหล่อเย็น และเครื่องมืออุปกรณ์วัดค่าต่างๆ ส่วนใหญ่นอกจากหอหล่อเย็นจะทำด้วยโลหะ

  16. ปัญหาที่พบในระบบน้ำหล่อเย็นปัญหาที่พบในระบบน้ำหล่อเย็น • ปัญหาตะกรัน (Scale problem) • ปัญหาการกัดกร่อน (Corrosion problem) • ปัญหาตะไคร่น้ำ (Slime problem)

  17. ผลเสียที่เกิดจากปัญหาต่าง

  18. เกิดการอุดตันของระบบจากตะกรัน (Clogging) ตะกรัน (Scale) ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความร้อนของระบบลดลง เกิด Pitting ใต้ชั้นตะกรัน

  19. เกิดการอุดตันของระบบเนื่องจากสนิม (Clogging) การกัดกร่อน (Corrosion) ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความร้อนของระบบลดลง พื้นผิวของโลหะเกิดการเสียหาย เช่นสึกกร่อน รูรั่ว หรือ Pitting

  20. ก่อให้เกิดความสกปรกในส่วนต่าง ๆ ตะไคร่น้ำ (Slime) เกิดการอุดตันในส่วนของท่อ และ Filter ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความร้อนของระบบลดลง เกิด Pitting ใต้ชั้นตะไคร่

  21. สาเหตุของปัญหา และการควบคุม ป้องกัน

  22. ความเป็นด่างในน้ำหล่อเย็น (Alkalinity) ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียม ในน้ำหล่อเย็น (Ca2+, Mg2+) อุณหภูมิของ น้ำหล่อเย็น (Temperature) ปัญหาตะกรัน (Scale) เกิดจาก

  23. การควบคุมและป้องกันปัญหาตะกรันการควบคุมและป้องกันปัญหาตะกรัน • ควบคุมคุณภาพน้ำ (Control water quality) • การใช้สารเคมี (Chemical treatment)

  24. การควบคุมคุณภาพน้ำ Softener De – alkaline softener Reverse osmosis Control cycle

  25. การใช้สารเคมี สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบพวก Polymer จากธรรมชาติ สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบพวก Polymer สังเคราะห์ขึ้น

  26. หน้าที่ของสารป้องกันตะกรันหน้าที่ของสารป้องกันตะกรัน ทำลายโครงสร้างของผลึกตะกรัน (Destroy structure) กระจายผลึกตระกรัน (Disperse)

  27. ออกซิเจนในน้ำ (Dissolve O2) อุณหภูมิ และความเร็วของกระแสน้ำ ปริมาณแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ปัญหาการกัดกร่อน (Corrosion) เกิดจาก

  28. การควบคุมและป้องกันปัญหาการกัดกร่อนการควบคุมและป้องกันปัญหาการกัดกร่อน • Oxide film เช่น พวกโครเมต โมลิบเดต และไนเตรต • Precipitate film เช่น พวกฟอสเฟต และเกลือของสังกะสี

  29. ค่า pH ของน้ำหล่อเย็น อุณหภูมิของน้ำหล่อเย็น ออกซิเจนในน้ำ (Dissolve O2) แร่ธาตุในน้ำหล่อเย็น แสงแดด ปัญหาตะไคร่น้ำ (Slime) เกิดจาก

  30. การควบคุมและป้องกันปัญหาตะไคร่น้ำการควบคุมและป้องกันปัญหาตะไคร่น้ำ • การใช้สารเคมี (Biocide) • การป้องกันการเกาะของ Slime • การกรองน้ำหมุนเวียนบางส่วน (Side stream filter)

  31. การคำนวณ Water balance in Cooling tower

  32. R= ปริมาณน้ำหล่อเย็นหมุนเวียนโดยปั๊ม m3/h E= ปริมาณน้ำที่สูญเสียไป เนื่องจากการระเหย m3/h T= ผลต่างระหว่างอุณหภูมิ น้ำหล่อเย็นระหว่างน้ำเข้าและออก C W= ปริมาณน้ำที่สูญเสียไปเนื่องจากลมและการกระเด็น m3/h B= ปริมาณน้ำ blow down m3/h M= ปริมาณน้ำที่เติมเข้าสู่ระบบน้ำหล่อเย็น m3/h N=Cycle of concentration

  33. R x 103 x T x C = E x 103 x HLkcal/hr…………(1) C=Specific heat ของน้ำที่ความดันคงที่ = 0.988 kcal/kg C at 40C HL = Latent heat ของน้ำกลายเป็นไอ =  578 kcal/kg C at 40C E = R x T/(0.58 x 100)m3/h……… (2)

  34. หมายเหตุทุก 1% ของน้ำหมุนเวียนที่ระเหย จะทำให้อุณหภูมิลดลง 5.8C จะไม่สามารถทำให้น้ำเย็นกว่า Wet bulb temperature ได้

  35. M = E + B + W m3/h…………..(3) N = CR/CM (4) CR = ความเข้มข้นของสารละลายหมุนเวียน CM = ความเข้มข้นของสารละลายในน้ำเติม

  36. CM x M = CR x (B + W) • N = CR /CM = M/(C + B) …(5) • N = (E + B + W)/(B + W) …(6) 1 RT = 3,900 kcal/h • 1 USRT = 3,024 kcal/h

  37. จาก R x103 x T x C = E x 103x HL RT ของ Cooling Tower = Q / 3,900 Existing เทียบกับ Name Plate ของ Cooling Tower ซึ่งกำหนดที่ Standard Condition Eff. = ?

  38. ต้องเผื่อ มาตรฐาน (Bench Mark) ควรจะเท่าใด? ช่วงฤดูร้อน  อากาศร้อน Chiller ทำงานมากขึ้น ช่วงฤดูฝน  อากาศชื้น น้ำระเหยได้น้อยลง

  39. การปรับปรุง • พัดลม ให้ระบายอากาศดีขึ้น แรงขึ้น แต่อย่าให้น้ำกระเด็นออกมากไป • Distributor ให้กระจายน้ำดีขึ้น ทั่วและสม่ำเสมอ • Media ให้น้ำและลมผ่านสะดวกไม่อุดตัน • ปั๊มน้ำ ใบพัดสึกหรือไม่ • ระบบท่อ อุดตัน มีตะกรันเกาะ จะทำให้ความเร็วลด ปริมาณน้ำลดลง • คุณภาพน้ำ ให้อยู่ในมาตรฐาน

  40. ส่งผลให้ น้ำระเหยได้มากขึ้น น้ำเย็นขึ้นกว่าเดิม โดยใช้พลังงานเท่าเดิม Condenser ทำงานดีขึ้น Compressor ของ Chiller กินไฟน้อยลงไม่ตัด Product ไม่เสียหาย

  41. จุดตรวจวัดที่สำคัญ Cooling Tower อุณหภูมิน้ำเข้า – ออก Condenser อุณหภูมิน้ำเข้า – ออก อุณหภูมิน้ำยาเข้า – ออก Leaving Temperature Difference (LTD)

  42. การควบคุมคุณภาพน้ำ • คุณภาพน้ำ Make Up • คุณภาพน้ำ Blow Down • หา LI, RI (LI  0, RI  6)  ปรับแก้ • กำหนดเป็นค่าความนำไฟฟ้า (EC) หรือ สารละลายในน้ำทั้งหมด (TDS) สำหรับ Operating Condition

More Related