180 likes | 283 Vues
Computer Applications in Production. Ch5 Location Planning & Transportation. Location Planning. การเลือกทำเลที่ตั้ง
E N D
Computer Applications in Production Ch5 Location Planning & Transportation
Location Planning • การเลือกทำเลที่ตั้ง • แหล่งที่จะทำให้ธุรกิจสามารถประกอบกิจกรรมได้สะดวกที่สุด โดยคำนึงถึงกำไร ค่าใช้จ่าย ความสัมพันธ์ของลูกค้า พนักงานและสภาพแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ตลอดระยะเวลาที่ธุรกิจประสงค์จะประกอบกิจกรรมนั้นๆ • เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต คือ • การออกแบบและติดตั้งระบบการผลิต: การกำหนดขนาดและผังโรงงาน การจัดหาอุปกรณ์การผลิต วัตถุดิบ การหาแรงงาน และการหาสาธารณูปโภคเพื่อการผลิต • การดำเนินการผลิต : การกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าแรงงาน ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าขนส่ง ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายการดำเนินงานรายปีที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น
Location Planning • ขั้นตอนการเลือกทำเลที่ตั้ง การศึกษาปัจจัย • การวิเคราะห์ทางเลือก • เทคนิคการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ • เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ไม่เลือก การตัดสินใจ เลือก ลงทุนก่อสร้าง
Location Planning • ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง • การคมนาคมขนส่ง : ถนน บริการทางคมนาคม รถไฟ เรือ เครื่องบิน ระบบการขนส่งต่างประเทศ • ปัจจัยการผลิต: วัตถุดิบ แรงงาน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายในการจัดหา ราคาที่ดิน • ตลาด: ลูกค้า ชุมชน และแหล่งจำหน่ายสินค้า • สาธารณูปโภค: น้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ระบบบำบัด • การบริการทางสังคม: สถานีตำรวจ ดับเพลิง เทศบาลโรงพยาบาล โรงเรียน • สิ่งแวดล้อม: ภูมิอากาศดี มลภาวะน้อย ความชื้นเหมาะสม ไม่มีแสง เสียงรบกวน
Location Planning • ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง • กฎหมาย : ภาษีที่ดิน ภาษีโรงเรือน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีการค้า ค่าเบี้ยประกันต่างๆ • ทัศนคติของชุมชน : ทัศนคติของชุมชนที่ล้อมรอบทำเลที่ตั้งโรงงานต้องสนับสนุนโรงงาน • คู่แข่งขัน : ควรมีความร่วมมือกันระหว่างคู่แข่งในทางที่ดี • โอกาสความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นในอนาคต
Location Planning • เทคนิคการวิเคราะห์การเลือกทำเลที่ตั้ง • เชิงคุณภาพ: การเรียงลำดับความสำคัญของปัจจัยและให้คะแนนปัจจัย
Location Planning • เทคนิคการวิเคราะห์การเลือกทำเลที่ตั้ง • เชิงปริมาณ • การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) • การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break Even Point Analysis) • การเปรียบเทียบค่าขนส่งรวมโดยใช้ตัวแบบการขนส่ง (Transportation) • การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) TC = ต้นทุนการผลิตรวม TFC = ต้นทุนคงที่รวม TVC = ต้นทุนผันแปรรวม VC = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย Q = จำนวนสินค้าที่จะผลิต TC = TFC + TVC TVC = VC(Q) TC = TFC + VC(Q)
Location PlanningCost Comparison ตัวอย่าง: การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) บริษัท 3A จำกัด กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้ง มี 3 ทำเลให้เลือกดังนี้ เมือง A มีต้นทุนคงที่ 2.0 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 100 บาท/หน่วย เมือง B มีต้นทุนคงที่ 2.5 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 45 บาท/หน่วย เมือง C มีต้นทุนคงที่ 1.1 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 200 บาท/หน่วย ถ้าบริษัทนี้พยากรณ์ได้ว่าจะมีกำลังการผลิตปีละ 10,000 หน่วย บริษัทแห่งนี้ควรเลือกทำเลใดในการตั้งโรงงานจึงจะมีต้นทุนต่ำที่สุด ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ
Location Planning ตัวอย่าง: การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) บริษัท 3B จำกัด กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้ง มี 3 ทำเลให้เลือกดังนี้ เมือง A มีต้นทุนคงที่ 1.0 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 200 บาท/หน่วย เมือง B มีต้นทุนคงที่ 2.5 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 80 บาท/หน่วย เมือง C มีต้นทุนคงที่ 1.3 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 160 บาท/หน่วย ถ้าบริษัทนี้พยากรณ์ได้ว่าจะมีกำลังการผลิตปีละ 15,000-20,000 หน่วย บริษัทแห่งนี้ควรเลือกทำเลใดในการตั้งโรงงานจึงจะมีต้นทุนต่ำที่สุด ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ
Location PlanningBreak Even Point Analysis • การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break Even Point Analysis) • TC = ต้นทุนการผลิตรวม TFC = ต้นทุนคงที่รวม TVC = ต้นทุนผันแปรรวม VC = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย Q = จำนวนสินค้าที่จะผลิตTC = TFC + VC(Q) TR = รายได้รวม TR = P x Q P = ราคาขายต่อหน่วย TR = TC P(Q) = TFC + VC(Q) P(Q) – VC(Q) = TFC Q (P-VC) = TFC Q = TFC (P-VC)
Location PlanningBreak Even Point Analysis Volume BEP Unit BEP
Location PlanningBreak Even Point Analysis ตัวอย่าง การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เพื่อเลือกทำเลที่ตั้ง ผู้บริหารธุรกิจแห่งหนึ่งกำหนดราคาขายสินค้าไว้ที่หน่วยละ 10 บาท กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีข้อมูลต้นทุนดังนี้ ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ
Location PlanningTransportation • การเปรียบเทียบค่าขนส่งรวมโดยใช้ตัวแบบการขนส่ง (Transportation Model) ตัวแบบการขนส่งเป็นเทคนิคการคำนวณในลักษณะของโปรแกรมเส้นตรง (Linear Programming) ที่ใช้คำนวณหาต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำสุด(Minimizing cost) สำหรับการกระจายสินค้าของโรงงานที่มีสถานที่ผลิตหลายแห่งและมีสถานที่ส่งสินค้าหลายแห่ง โดยที่ค่าขนส่งของแต่ละเส้นทางขนส่งมีค่าไม่เท่ากัน (ขึ้นกับระยะทางที่ห่างกัน) ดังนั้นโรงงานจะสามารถทราบได้ว่าควรจะกระจายสินค้าด้วยเส้นทางใดจึงจะได้ค่าขนส่งรวมต่ำที่สุด จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้วิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานได้เป็นอย่างดี Demandปลายทาง Supplyต้นทาง
โรงงาน1 โรงงาน2 โรงงาน3 โรงงาน5 โรงงาน4 ร้านค้าปลีก ตัวแทนจำหน่าย พ่อค้าส่ง ร้านค้าปลีก ลูกค้า Location PlanningTransportation เส้นทางการขนส่งแต่ละเส้นมีระยะทางไม่เท่ากัน จึงมีค่าขนส่งแตกต่างกันตามระยะทาง
Transportation Model ขั้นตอนการคำนวณหาต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำสุดด้วยตัวแบบการขนส่งและใช้ Microsoft Excel ในการ Solution เพื่อหาคำตอบ • หาผลรวมสินค้าของแหล่งผลิต (Supply) และแหล่งรับสินค้า (Demand) • สร้างตารางเมตริกซ์ (Matrix Square) • สร้างแถวนอน (Row) = จำนวนโรงงานหรือแหล่งผลิตสินค้า (Supply) • สร้างแถวตั้ง (Column) = จำนวนแหล่งที่จะรับสินค้า (Demand) • เมื่อนำแถวนอนกับแถวตั้งมารวมกันจะได้ Matrix Square โดยจะเกิดช่องที่เกิดจากการตัดกันของ Row / Column เรียกว่า Cell ถ้าเกิดจากการตัดกันของ Row ที่ 1 กับ Column ที่ 2 เรียก Cell นั้นว่า C12 • กำหนดค่าขนส่งในแต่ละเส้นทาง และระบุลงไปใน Matrix • สร้าง Matrix Square ลงใน Spread Sheet (Excel) (เปิดไฟล์ T_Sample ในเว็บ)
Transportation ModelMatrix ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลลงเมทริกซ์บริษัทแห่งหนึ่งมีโรงงานผลิตสินค้าอยู่ 3 แห่ง แห่งละ 500 ,600 และ 400 หน่วย ตามลำดับ โดยมีเอเย่นต์อยู่ 4 ราย แต่ละรายรับสินค้าได้จำกัดจำนวน คือ 260 , 380 , 490 และ 370 หน่วยตามลำดับ เขียนเป็นแผนภาพและระบุค่าขนส่งได้ดังนี้ 2 26 5 8 1 50 6 38 7 4 60 17 49 10 18 5 40 37 3 ค่าขนส่ง: บาทต่อหน่วยสินค้า 7