1 / 65

วัตถุประสงค์

การชี้แจง การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Plan) ของตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จังหวัดตรัง.

knox-scott
Télécharger la présentation

วัตถุประสงค์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การชี้แจง การจัดทำแผนการจัดการความรู้(KM Plan) ของตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จังหวัดตรัง ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี.รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง วันศุกร์ ที่ 2 เมษษยน พ.ศ.2553

  2. วัตถุประสงค์ 1.สร้างความเข้าใจร่วมกัน ในเรื่องการจัดการความรู้ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ 2. สร้างความเข้าใจ การขับเคลื่อน มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร 3.เพื่อมอบภารกิจการขับเคลื่อนกิจกรรมการจัดการความรู้

  3. ตำแหน่ง แหล่งที่ ของ KM ใน PMQA 2553 IT7 จังหวัดต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ RM 4.3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ ตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้

  4. PMQA Model TQM : Framework P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  5. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) การนำองค์กร (มาตรา 8,9,12,16,18,20, 23,27,28,43,44,46) ผลลัพธ์ การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31, 38-42,45) การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39)

  6. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (จังหวัด) ดูคู่มือ หน้า 88

  7. IT 7 : จังหวัดต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ แผนการจัดการความรู้ หมายถึง แผนที่สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด ประกอบด้วย กิจกรรมการจัดการความรู้ต่าง ๆ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบและ เข้าถึงง่าย การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เป็นต้น คู่มือ หน้า 125-126

  8. IT 7 : จังหวัดต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ ความแตกต่างจาก ปีงบประมาณ 2552 จังหวัดเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็น 3 องค์ความรู้ จากอย่างน้อย 2ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน และไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ ที่จังหวัดได้เคยเลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ไปแล้ว แต่หากจำเป็นต้องเป็นองค์ความรู้เดิม จังหวัดจะต้องทบทวนและเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการให้มากขึ้นหรือครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้นอย่างชัดเจน พร้อมระบุเหตุผลที่เลือกองค์ความรู้นั้นประกอบด้วย

  9. ความแตกต่างจาก ปีงบประมาณ 2552 การจัดทำและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้ (แบบฟอร์มที่ 2 ตามภาคผนวก ฉ) ควรมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆตามขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอน (Knowledge management Process = KMP) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง 6 องค์ประกอบ (Change Management Process = CMP) นำมาบูรณาการร่วมกัน โดยจังหวัดอาจจะไม่ต้องนำความสัมพันธ์ระหว่าง KMP และ CMP มาทำ Matrix กันก็ได้ แต่สามารถอ้างอิง CMP ทั้ง 6 องค์ประกอบ ลงไปในแต่ละขั้นตอนของการจัดการความรู้ (ดังช่องหมายเหตุตามตัวอย่างแนบ) สำหรับกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) นั้น ควรแสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์ม 2 เพื่อส่งเสริมและผลักดันความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ให้มากยิ่งขึ้น

  10. ความแตกต่างจาก ปีงบประมาณ 2552 จังหวัดควรดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรม และสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ระบุไว้ในแต่ละขั้นตอน

  11. แนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ในหมวด 4 (ข.) การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สำนักงาน ก.พ.ร. มุ่งมั่นให้ทุกส่วนราชการระดับจังหวัดให้มีการขยายผล การดำเนินงานการจัดการความรู้โดยส่งเสริมและพัฒนาระบบการจัดการความรู้ในจังหวัดให้ต่อเนื่องจากปีงบประมาณที่ผ่านมาซึ่งจะมุ่งเน้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์ความรู้ที่สำคัญที่จะมีผลต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ดูคู่มือ หน้า 190-202

  12. สำนักงาน ก.พ.ร. ได้กำหนดแนวทางด้านการจัดการความรู้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 1. จังหวัดทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ และกำหนดองค์ความรู้ที่สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อให้เป็นปัจจุบันให้มากที่สุด 2. จัดทำแผนการจัดการความรู้

  13. 2.1 กำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์ โดยจังหวัดนำข้อมูลตามที่ระบุไว้ในคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มาดำเนินการ ทั้งนี้อาจนำ template แผนการจัดการความรู้ของปี 2550 (แบบฟอร์ม 1) มาใช้ก็ได้

  14. 2.2 จังหวัดเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็น 3 องค์ความรู้จากอย่างน้อย2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกันและไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่จังหวัดได้เคยเลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ไปแล้ว แต่หากจำเป็นต้องเป็นองค์ความรู้เดิม จังหวัดจะต้องทบทวนและเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการให้มากขึ้นหรือครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้นอย่างชัดเจน พร้อมระบุเหตุผลที่เลือกองค์ความรู้นั้นประกอบด้วย

  15. 2.3 การเลือกตัวชี้วัด (KPI) เพื่อวัดผลการจัดการความรู้ จังหวัดพิจารณาเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองที่มีนัยสำคัญ อย่างน้อย 1 KPI ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดผลสำเร็จของการจัดการความรู้ในจังหวัด

  16. 2.4 ผู้บริหารสูงสุดของจังหวัด (CEO)และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ของจังหวัด ทบทวนความถูกต้องและความเหมาะสม พร้อมลงนามรับรองเพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้บริหารได้ทราบและสนับสนุนการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้

  17. 2.5 การจัดทำและปฎิบัติตามแผนการจัดการความรู้ (แบบฟอร์ม 2) ควรมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆ ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ทั้ง 7 ขั้นตอน (Knowledge Management Process = KMP)และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง 6 องค์ประกอบ (Change Management Process = CMP)นำมาบูรณาการร่วมกัน โดยจังหวัดอาจจะไม่ต้องนำความสัมพันธ์ระหว่าง KMP และ CMP มาทำ Matrix กันก็ได้

  18. แต่สามารถอ้างอิง CPM ทั้ง 6 องค์ประกอบลงไป ในแต่ละขั้นตอนของการจัดการความรู้ได้ (ดังช่องหมายเหตุตามตัวอย่างแนบ) สำหรับกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) นั้น ควรแสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมเพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบฟอร์มที่ 2 เพื่อส่งเสริมและผลักดันความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ให้มากยิ่งขึ้น

  19. 2.6 จังหวัดควรต้องดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้

  20. 2.7 จังหวัดดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ที่ได้จัดทำทั้ง 3 แผน พร้อมทั้งติดตามผลงานและความก้าวหน้าในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะ ๆ รวมถึงการเก็บข้อมูลหลักฐานการดำเนินกิจกรรมใน แต่ละขั้นตอนของการจัดการความรู้ไว้ด้วย เพื่อเตรียมรับการตรวจประเมินโดยเจ้าหน้าที่ของ ก.พ.ร. และ TRIS ต่อไป

  21. 2.8 การวัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ จะพิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสำฤทธิ์ของการดำเนินการที่จังหวัดดำเนินการได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรม ตามแผนการจัดการความรู้ของจังหวัดที่กำหนดไว้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้

  22. ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง งานบริการหรือกิจกรรม ที่เกิดจากการทำงานได้ผลผลิต (outputs) ตามเป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ (outcomes) ตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ ทำให้องค์ความรู้ที่กำหนดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงหรือเป็นที่พอใจ

  23. แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดัน ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด แบบฟอร์มที่ 2 แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)

  24. แผนการจัดการความรู้ แผนที่ 1ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาการผลิต

  25. แผนการจัดการความรู้ แผนที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยว

  26. แผนการจัดการความรู้ แผนที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  27. ภาคผนวก • ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง KMP และ CMP ของแผนการจัดการแผนที่

  28. ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง KMP และ CMP ของแผนการจัดการแผนที่...........

  29. CKO Profile

  30. รายชื่อทีมงาน KM

  31. หมายเหตุ แนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ข้างต้น จังหวัดสามารถใช้แนวทางดังกล่าวเป็นตัวอย่างหรืออาจปรับแผนการจัดการความรู้ข้างต้นให้เหมาะสมเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ รายละเอียดศึกษาได้จาก “คู่มือการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ/จังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550” (เล่มสีชมพู)

  32. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ มี 6 ตัวชี้วัด

  33. แม้ว่าประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามหมวด 7 ของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐขั้นพื้นฐาน จะพิจารณาเฉพาะผลการดำเนินการในปัจจุบัน โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย (Level : L) เท่านั้น แต่จังหวัดควรให้ความสำคัญกับการพิจารณาถึงแนวโน้มของผลการดำเนินการ (Trend : T) เพื่อนำมาปรับปรุงผลการดำเนินการให้ดีขึ้นด้วย นอกจากนี้ จังหวัดควรพิจารณาประเด็นการเปรียบเทียบกับผลการดำเนินการ (Compare : C) ซึ่งจังหวัดควรแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ รวมทั้งในประเด็นการเชื่อมโยงของตัวชี้วัดผลต่าง ๆ (Linkage : Li) จังหวัดควรมีการรายงานผลลัพธ์ในหลายเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการที่สำคัญของจังหวัดด้วย ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของจังหวัดที่จะพัฒนาเข้าสู่ขั้นก้าวหน้า (Successful Level) และความเป็นเลิศในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐได้อย่างสมบูรณ์ต่อไป ทั้งนี้ แนวทางการวิเคราะห์ผลลัพธ์ดังกล่าว มีความสอดคล้องตามระบบการวิเคราะห์การดำเนินการใช้งบประมาณ (PART)

  34. ผลผลิตที่ต้องการ องค์ความรู้ ของแต่ละกลยุทธ์ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ KM Plan Work Plan รายงานความก้าวหน้า 2 เดือน/ครั้ง =4 ครั้ง

  35. การวัดค่าร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ RM 4.3 จังหวัดตรัง ปี 2553

  36. ตารางที่ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการผลิต

  37. ตารางที่ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว

  38. ตารางที่ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  39. ตารางที่ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ ตามประเด็นยุทธศาสตร์

  40. รูปแบบ รายงาน แผนการจัดการความรู้และการนำไปปฏิบัติ ตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มิติด้านการพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ส่วนราชการจังหวัดตรัง

  41. ประกอบด้วย 6 บท ดังนี้ • บทที่ 1 บทนำ • แนวคิดการจัดการความรู้ในการพัฒนาระบบราชการ • ตัวชี้วัด การจัดการความรู้ ใน PMQA • กระบวนการดำเนินงานของจังหวัด

  42. บทที่ 2 • ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดตรัง 2553 • คำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัดตรัง 2553

More Related