1 / 40

มรดกวัฒนธรรมอาเซียน

มรดกวัฒนธรรมอาเซียน. สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Association of South East Asian Nations - ASEAN). ความร่วมมือ (Cooperation). ความเป็นหนึ่งเดียว (Unity). สันติภาพและความมั่นคง. เสรีภาพ. ความเป็นกลาง. การเมือง / ความมั่นคง. การกงสุล.

kolina
Télécharger la présentation

มรดกวัฒนธรรมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มรดกวัฒนธรรมอาเซียน สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

  2. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations- ASEAN)

  3. ความร่วมมือ(Cooperation) ความเป็นหนึ่งเดียว(Unity) สันติภาพและความมั่นคง เสรีภาพ ความเป็นกลาง

  4. การเมือง / ความมั่นคง การกงสุล สวัสดิการสังคม แรงงาน ขจัดความยากจน เศรษฐกิจ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม สตรี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การศึกษา วัฒนธรรมและสนเทศ ความร่วมมืออาเซียน

  5. เป้าหมาย วิสัยทัศน์อาเซียน • วงสมานฉันท์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (A Concert of Southeast Asian Nations) • หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต (A Partnership in Dynamic Development) • มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก (An Outward-Looking ASEAN) • ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร (A Community of Caring Societies)

  6. การจัดตั้งประชาคมอาเซียน(ASEAN Community) • ภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) • ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ -ประชาคมความมั่นคงอาเซียน - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

  7. อาเซียน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ASEAN Cultural Diversity

  8. ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอาเซียนความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอาเซียน จำแนกออกเป็น: กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง : ไทย – ลาว – เขมร – พม่า - เวียดนาม กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย – อินโดนีเซีย - บรูไน ดารุสซาลาม - สิงคโปร์ กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์

  9. กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง :ไทย-ลาว-เขมร-พม่า-เวียดนาม มรดกร่วมในอนุภูมิภาค อาทิ • ภาษา • การแสดง • นาฏศิลป์-ดนตรี • ประเพณี

  10. กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย-อินโดนีเซีย-บรูไน ดารุสซาลาม-สิงคโปร์ ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มรดกร่วมในกลุ่มประเทศ อาทิ • ภาษามาเลย์ (มลายู) • การแต่งกาย • การแสดง (การเชิดหนัง หรือ หนังตะลุง) ขณะที่สิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่าง จีน-มาเลย์-อินเดีย

  11. กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์ เป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ตัวอย่างมรดกวัฒนธรรม • ด้านภาษา • ด้านการแสดง ได้รับอิทธิพลจากสเปน • ด้านการแต่งกาย • ด้านประเพณี ได้รับอิทธิพลจากสเปนและเม็กซิโก

  12. มรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียนมรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียน • งานด้านวรรณกรรม

  13. มรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียนมรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียน • ศิลปะการแสดง (รามเกียรติ์)

  14. มรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียนมรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียน • งานศิลปหัตถกรรมพื้นเมือง (การทอผ้า)

  15. มรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียนมรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียน สงกรานต์ในประเทศกัมพูชา • ด้านประเพณี (ประเพณีสงกรานต์)

  16. สงกรานต์ในประเทศลาว

  17. สงกรานต์ใน ประเทศพม่า

  18. สงกรานต์ในประเทศไทย

  19. มรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียนมรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียน • ด้านพิธีกรรม (พิธีสืบชะตาแม่น้ำโขง) • ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 มกราคม 2553 เห็นชอบการส่งเสริมโครงการสืบชะตาแม่น้ำโขงเป็นโครงการความร่วมมือทางวัฒนธรรมระดับชาติระหว่างไทยและลาว

  20. มรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียนมรดกวัฒนธรรมร่วมในอาเซียน • วัฒนธรรมข้าว

  21. ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมอาเซียนความร่วมมือด้านวัฒนธรรมอาเซียน • เริ่มเมื่อปี 2521 • ดำเนินความร่วมมือตามหลักการ (นโยบายของอาเซียน) (ปัจจุบัน : วิสัยทัศน์ แผนปฏิบัติการของอาเซียน) • ดำเนินกิจกรรม/โครงการ โดยใช้งบประมาณจากกองทุนวัฒนธรรมอาเซียน • คณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศเป็นองค์กรพิจารณากิจกรรม/โครงการ ก่อนเสนอของบประมาณจากอาเซียน

  22. ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนความร่วมมือด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน • คณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ (ASEAN Committee on Culture and Information - ASEAN-COCI) เพื่อธำรงรักษามรดกทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของ ประเทศสมาชิก เสริมสร้างความร่วมมือทางวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกันของประเทศ สมาชิก ร่วมกันเร่งรัดความก้าวหน้าทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเพื่อความ สงบสุขและมั่งคั่งรุ่งเรืองของประชาคมอาเซียน

  23. คณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ (ASEAN Committee on Culture and Information – ASEAN-COCI) ส่งเสริมการกระจายข่าวสารและสารสนเทศระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อสร้างความตระหนักในเอกลักษณ์ของชาวอาเซียน  เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ภาพลักษณ์ที่ดีของอาเซียนต่อประชาคมโลก • การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนที่กำกับดูแลงานด้านวัฒนธรรม และศิลปะ (ASEAN Ministers Responsible for Culture and the Arts –AMCA) เพื่อกำหนดนโยบาย แนวทาง และกรอบความร่วมมือด้านวัฒนธรรมและศิลปะในระดับภูมิภาค การจัดลำดับความสำคัญของสาขาความร่วมมือด้านวัฒนธรรม และชี้แนะประเด็นปัญหา อุปสรรคในการพัฒนาวัฒนธรรมในภูมิภาค รวมทั้งการเสนอแนวทางแก้ไข

  24. ผลงานด้านวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรมโดยผ่านกลไกอาเซียนผลงานด้านวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรมโดยผ่านกลไกอาเซียน ๑) ด้านวัฒนธรรมและอาเซียนศึกษา ๒) ด้านศิลปะการแสดง ๓) ด้านทัศนศิลป์ ๔) ด้านมรดกวัฒนธรรม

  25. กิจกรรมโครงการอาเซียนกิจกรรมโครงการอาเซียน ASEAN Sculptures

  26. ASEAN Children’s Art on Kindness

  27. ASEAN BOOKS

  28. กระทรวงวัฒนธรรมกับงานวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนกระทรวงวัฒนธรรมกับงานวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน 1. โครงการความร่วมมือด้านวัฒนธรรมอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา - การจัดตั้งเครือข่ายมรดกวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นกลไกความร่วมมือด้านวัฒนธรรมระหว่างอาเซียนและจีน เกาหลี ญี่ปุ่น - การจัดแสดงดนตรีซิมโฟนีออเคสตรา ระหว่างอาเซียนและจีน เกาหลี ญี่ปุ่น และจะมีการจัดแสดงดนตรีอาเซียน-รัสเซีย ในโอกาสครบรอบความสัมพันธ์ 15 ปี ในปี พ.ศ. 2554 - การจัดตั้งวงดุริยางค์พื้นเมืองอาเซียน-เกาหลี

  29. กระทรวงวัฒนธรรมกับงานวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนกระทรวงวัฒนธรรมกับงานวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน 2. โครงการความร่วมมือด้านวัฒนธรรมภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน - โครงการแลกเปลี่ยนระดับประชาชน การปฏิสัมพันธ์ทาง วัฒนธรรมในระดับรากหญ้า - การจัดพิมพ์หนังสือชุดอาเซียนศึกษาในเรื่องวัฒนธรรมของ อาเซียนในสาขาต่างๆ - การจัดโครงการผู้ประพันธ์เพลงพื้นบ้านอาเซียน

  30. การสร้างประชาคมอาเซียนการสร้างประชาคมอาเซียน

  31. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีการกำหนดแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ค.ศ. 2009 - 2015 ซึ่งมีประเด็นหลัก ประกอบด้วย 1) สร้างประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร 2) แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ 3) ส่งเสริมความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและการจัดการดูแล สิ่งแวดล้อม อย่างถูกต้อง 4) เสริมสร้างรากฐานที่จะนำไปสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งเป็นภูมิภาคที่ ประชาชนตระหนักถึง อัตลักษณ์ (identity)

  32. การเสริมสร้างอัตลักษณ์อาเซียนการเสริมสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 1. ส่งเสริมการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนและความรู้สึกของ การเป็นประชาคม 2. การอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน 3. การส่งเสริมการสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม 4. การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน ซึ่งจะกำหนดให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ในการก่อตั้งประชาคม โดยสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วม 5. การลดช่องว่างทางการพัฒนา โดยเสริมสร้างความร่วมมือเพื่อ ลดช่องว่างในการพัฒนา

  33. กระทรวงวัฒนธรรมกับการเตรียมพร้อมสังคมไทย ในการเข้าสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน • กำหนดนโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมสังคมไทยสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน - การสร้างความตระหนัก/ ส่งเสริมการเรียนรู้ - การพัฒนาความร่วมมือด้านวัฒนธรรมกับอาเซียน - การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ระดับประชาชนกับ ประชาชน - สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมอาเซียนในการรักษาและสืบทอดมรดก ทางวัฒนธรรม

  34. กระทรวงวัฒนธรรมกับการเตรียมพร้อมสังคมไทย ในการเข้าสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน • กำหนดกิจกรรมนำร่องเพื่อเตรียมความพร้อม อาทิ - การจัดการความรู้ - การประชุมระดับภูมิภาคเพื่อจัดตั้งเครือข่ายมรดกโลกทาง วัฒนธรรมในอาเซียน - การแลกเปลี่ยนระดับเยาวชนไทยและเยาวชนประเทศเพื่อนบ้าน - การเผยแพร่สิ่งพิมพ์ด้านวัฒนธรรมที่ดำเนินการโดยอาเซียน - การจัดกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างเครือข่าย ระหว่างศิลปิน และนักวิชาการทางวัฒนธรรมทุกสาขา

  35. บทสรุป การเสริมสร้างความตระหนักและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจทั้งวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง และวัฒนธรรมร่วมของภูมิภาค รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรมที่หลากหลายของอาเซียน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรวมตัวอย่างเข้มแข็งของอาเซียนต่อไปในอนาคต

  36. มรดกวัฒนธรรมอาเซียน สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

More Related