1 / 75

การประชุมชี้แจงและเตรียมการ

การประชุมชี้แจงและเตรียมการ. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา ( V-NET ) ระดับสนามสอบ ประจำปีการศึกษา 2554 25 - 27 มกราคม 2555 โดย ศูนย์สอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง และ สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน ). วัตถุประสงค์ของการประชุม.

krista
Télécharger la présentation

การประชุมชี้แจงและเตรียมการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจงและเตรียมการการประชุมชี้แจงและเตรียมการ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)ระดับสนามสอบ ประจำปีการศึกษา 2554 25 - 27 มกราคม 2555 โดย ศูนย์สอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง และ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

  2. วัตถุประสงค์ของการประชุมวัตถุประสงค์ของการประชุม 1. เพื่อให้สนามสอบมีความเข้าใจวิธีการดำเนินการจัด สอบ V-NET ปีการศึกษา 2554 อย่างชัดเจน 2. หัวหน้าสนามสอบกลับไปจัดประชุมคณะทำงานระดับ สนามสอบ และกำกับให้การจัดสอบในสนามสอบ มีความยุติธรรม โปร่งใส และได้มาตรฐาน 3. คณะทำงานระดับสนามสอบเข้าใจ และปฏิบัติถูกต้อง ตามคู่มือการจัดสอบ V-NET ปีการศึกษา 2554

  3. หัวข้อการประชุม 1. ข้อมูลการจัดสอบ V-NET ปีการศึกษา 2554 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET 3. ภารกิจของศูนย์สอบ 4. ภารกิจของสนามสอบ 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ 7. การรับ-ส่งแบบทดสอบ กระดาษคำตอบและเอกสารการสอบ

  4. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ V-NET 1. เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2545 (ปรับปรุง 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2545 2. เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษา 3. เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ

  5. หน่วยงานที่สอบ V-NET (จ.ลำปาง และ จ.อุตรดิตถ์) • สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(วท. 2 /วอศ. 2 / วช. 2/ วก. 3 / วทก.1) • สำนักงานส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ลำปาง 3 / อุตรดิตถ์ 1) • สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ลำปาง 3)

  6. 1. ข้อมูลสำหรับการบริหารจัดสอบ V-NET

  7. ข้อมูลการจัดสอบศูนย์สอบมทร. ล้านนา ลำปาง

  8. ข้อมูลการจัดสอบศูนย์สอบมทร. ล้านนา ลำปาง (ต่อ)

  9. ข้อมูลการจัดสอบศูนย์สอบมทร. ล้านนา ลำปาง (ต่อ)

  10. กำหนดการสอบV-NET ปีการศึกษา 2554 ปวช.3 สอบวันอาทิตย์ ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2555 ปวส.2 สอบวันอาทิตย์ ที่ 5กุมภาพันธ์ 2555 www.niets.or.th

  11. ตารางสอบ V-NET ปวช. 3วันอาทิตย์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2555

  12. ตารางสอบ V-NET ปวส. 2วันอาทิตย์ที่ 5กุมภาพันธ์ 2555

  13. 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET 1. ระดับ ปวช.3 สอบโดยใช้ข้อสอบ จำนวน 3 ฉบับตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2545 (ปรับปรุง 2546) 2. วิชาที่ผู้เข้าสอบทุกคนสอบเหมือนกันคือ วิชาสมรรถนะพื้นฐานและการเรียนรู้ และวิชาสมรรถนะพื้นฐานวิชาชีพ 3. วิชาที่ผู้เข้าสอบแยกสอบตามกลุ่มประเภทวิชาคือ สมรรถนะวิชาชีพประเภทวิชา (แบ่งเป็น 11 กลุ่ม)

  14. 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET 4. ระดับ ปวส.2 สอบโดยใช้ข้อสอบ จำนวน 2 ฉบับตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2545 5. ผู้เข้าสอบทุกคนสอบเหมือนกันทุกวิชา 6. ฉบับที่ 1 วิชาสมรรถนะพื้นฐานประยุกต์ ฉบับที่ 2 วิชาสมรรถนะเพื่อการเรียนรู้ และสมรรถนะพื้นฐานวิชาชีพ

  15. 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET (ต่อ) 7. แบบทดสอบ และ กระดาษคำตอบ จะบรรจุแยกซองกัน แบบทดสอบและกระดาษคำตอบมีจำนวนเท่ากับจำนวนผู้เข้าสอบในห้องสอบนั้น 8. แบบทดสอบแต่ละชุดวิชามี รหัสสีเฉพาะ เหมือนกันทั้งที่ซองแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ และ ซองบรรจุกระดาษคำตอบ 9. กระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบทุกคนได้ระบุข้อมูลของผู้เข้าสอบไว้แล้ว หากไม่ตรงกับผู้เข้าสอบหรือชำรุด ให้ใช้กระดาษคำตอบสำรอง

  16. 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET (ต่อ) 10. ซองแบบทดสอบจะถูกปิดด้วย“เทปกาวพิเศษแบบทำลายตนเอง”เพื่อมิให้เปิดจนถึงห้องสอบ ในแต่ละชุดวิชาที่สอบจะมีจำนวนซองแบบทดสอบ 1 ซอง และซองกระดาษคำตอบ 1 ซองต่อห้องสอบ 11. สทศ. จะบรรจุซองแบบทดสอบ และ ซองกระดาษคำตอบ ลงในกล่องแยกกันตามจำนวนห้องสอบของแต่ละสนามสอบ แต่ละสนามมีแบบทดสอบสำรอง 5% และกระดาษคำตอบสำรอง 10% ของผู้เข้าสอบ 12. ศูนย์สอบรับกล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบ และเอกสารเกี่ยวกับการสอบแล้ว ตัวแทนศูนย์สอบนำไปให้สนามสอบในวันและเวลาที่เหมาะสม

  17. 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET (ต่อ) 13. หัวหน้าสนามสอบเปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบต่อหน้าตัวแทนศูนย์สอบหรือผู้ที่ศูนย์มอบหมาย ก่อนเวลาสอบของแต่ละวิชาไม่เกิน 1 ชั่วโมง 14. หลังสอบเสร็จ สนามสอบต้องนับจำนวนกระดาษคำตอบให้ครบถ้วนตามจำนวนทั้งของผู้เข้าสอบและขาดสอบบรรจุใส่ซองกระดาษคำตอบแล้วปิดทับด้วยเทปกาวพิเศษ แล้วบรรจุลงในกล่องปรับขนาดสำหรับใส่ซองกระดาษคำตอบ 15.สนามสอบนับจำนวนแบบทดสอบให้ครบถ้วนแล้วใส่ซอง และบรรจุลงกล่องแบบทดสอบ

  18. 2. ข้อกำหนดการจัดสอบ V-NET (ต่อ) • หัวหน้าสนามสอบนำกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบ กล่องแบบทดสอบ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบ ส่งศูนย์สอบตามกำหนดนัดหมายของศูนย์สอบ โดยศูนย์สอบจะนับจำนวนกล่องให้ครบตามจำนวนที่สนามสอบส่งเท่านั้น 17.สทศ. จะนัดหมายมารับกล่องกระดาษคำตอบกลับ พร้อมบัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบฯ (V-NET 3)ที่ศูนย์สอบ 18. สทศ. จะนัดหมายมารับกล่องแบบทดสอบกลับ พร้อมบัญชีส่งจำนวนกล่องแบบทดสอบ (V-NET 4)ที่ศูนย์สอบในภายหลัง 19. ศูนย์สอบต้องส่งรายงานการจัดสอบและรายงานสรุปค่าใช้จ่ายฯ ให้ สทศ. ทางไปรษณีย์ ภายใน 30 วัน หลังเสร็จสิ้นการสอบ

  19. 3. ภารกิจของศูนย์สอบ 1. กำหนดแผนการกระจายเอกสารให้สนามสอบคู่มือการจัดสอบ V-NET ระดับสนามสอบและกรรมการ คุมสอบ และ DVD การคุมสอบ ซองเอกสารประกอบการสอบ และอุปกรณ์การสอบ กล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบกลับ 2. กำหนดแผนการรับกล่องกระดาษคำตอบกลับ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบ จากสนามสอบ 3. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการ ระดับสนามสอบ

  20. 3. ภารกิจของศูนย์สอบ(ต่อ) 4. จัดประชุมหัวหน้าสนามสอบและตัวแทน 5. กำกับให้หัวหน้าสนามสอบจัดประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบ (หรือตัวแทนศูนย์สอบไปจัดประชุมเอง) • กำกับให้สนามสอบเตรียมความพร้อมก่อนการสอบ เช่น ประกาศรายชื่อผู้เข้าสอบ การจัดเตรียมห้องสอบwww.lpc.rmutl.ac.th/vnet 7. วางแผนและจัดเตรียมค่าใช้จ่ายให้สนามสอบ

  21. 3. ภารกิจของศูนย์สอบ(ต่อ) 8. แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบ และส่งไปประจำที่สนามสอบ 9. กำกับ ควบคุมให้การจัดสอบของสนามสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีความยุติธรรมและโปร่งใส 10. แก้ปัญหาในการดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบ และสนามสอบ 11. รวบรวมและจัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย และเอกสารเกี่ยวข้องกับการจัดสอบ ไว้ที่ศูนย์สอบ

  22. 3. ภารกิจของศูนย์สอบ(ต่อ) 12. รายงานผลการดำเนินการจัดสอบ V-NET ให้ สทศ.ทราบ ภายใน 30 วัน หลังจากเสร็จสิ้นการสอบ 13. ส่งรายงานสรุปค่าใช้จ่ายการจัดสอบ V-NET ให้ สทศ. ภายใน 30 วัน หลังจากเสร็จสิ้นการสอบ

  23. 4. ภารกิจของสนามสอบ 1. ประสานงานกับศูนย์สอบ และดำเนินการตามนโยบายของศูนย์สอบอย่างเคร่งครัด 2. เสนอชื่อคณะกรรมการระดับสนามสอบ ให้ศูนย์สอบอนุมัติแต่งตั้ง 3. ติดต่อรับคู่มือการจัดสอบ V-NET และ DVD การคุมสอบจากศูนย์สอบ 4. จัดประชุมคณะกรรมการ ระดับสนามสอบ(หรือตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้ดำเนินการ)

  24. 4. ภารกิจของสนามสอบ (ต่อ) 5. ติดต่อรับซองเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบจากศูนย์สอบ 6. เตรียมความพร้อมก่อนการจัดสอบ เกี่ยวกับสถานที่สอบและห้องสอบ การประชาสัมพันธ์การสอบ การประกาศรายชื่อและเลขที่นั่งสอบ 7. รับ...กล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบ และกล่องใส่ซองกระดาษคำตอบกลับ จากศูนย์สอบ และเก็บรักษาให้ปลอดภัย (หรือตัวแทนศูนย์สอบนำไปตอนเช้าวันสอบ)

  25. 4. ภารกิจของ สนามสอบ(ต่อ) 8. ประสานงานศูนย์สอบเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของกรรมการระดับสนามสอบ 9. จัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ เป็นตามแนวปฏิบัติที่ สทศ. กำหนดมีความยุติธรรมและโปร่งใส 10. ส่ง...กล่องกระดาษคำตอบกลับ กล่องแบบทดสอบ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบ ให้ศูนย์สอบ 11. รายงานสรุปการดำเนินการจัดสอบให้ศูนย์สอบทราบ

  26. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ 1. หัวหน้าสนามสอบ 2. กรรมการกลาง โดยกำหนดอัตรา 1 คน : 3 ห้องสอบ 3. กรรมการคุมสอบ จำนวน 2 คน : 1 ห้องสอบ โดยกรรมการคุมสอบไม่คุมนักเรียนตนเอง 4. หัวหน้าตึก

  27. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 5. นักการ ภารโรงโดยกำหนดอัตรา 1 คน : 5 ห้องสอบ • เจ้าหน้าที่ตำรวจมีในกรณีในสนามสอบมีหลายโรงเรียน • กรรมการอื่นๆ (ปชส. พยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาแบบทดสอบ)

  28. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 1. หัวหน้าสนามสอบ 1.1 เสนอรายชื่อกรรมการระดับสนามสอบให้ศูนย์สอบแต่งตั้ง 1.2 จัดประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนวันสอบ 1.3 รับซองเอกสารและอุปกรณ์การสอบจากศูนย์สอบ 1.4 เตรียมความพร้อมในการจัดสอบ กำกับให้มีการติดรายชื่อผู้เข้าสอบประกาศ สทศ. เรื่องข้อปฏิบัติสำหรับผู้เข้าสอบ V-NET และตารางสอบที่บอร์ด ปชส. ติดรายชื่อผู้เข้าสอบ แผนผังที่นั่งหน้าห้องสอบ จัดห้องสอบและติดสติกเกอร์บนโต๊ะผู้เข้าสอบ

  29. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 1.5 รับกล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบ และกล่องปรับขนาด ใส่ซองกระดาษคำตอบกลับ (RETURN) จากศูนย์สอบ และเก็บรักษาให้ปลอดภัยก่อนมอบให้กรรมการคุมสอบนำไปใช้สอบ 1.6 ประสานงานกับศูนย์สอบเรื่องตัวแทนศูนย์สอบที่มาประจำสนามสอบ 1.7 กำกับ ติดตาม ดูแล การจัดสอบให้เกิดความเรียบร้อย 1.8 จ่ายค่าปฏิบัติงานของคณะกรรมการระดับสนามสอบ และรวบรวมหลักฐานส่งศูนย์สอบ

  30. 1.9 ส่งกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ กล่องบรรจุแบบทดสอบ และซองเอกสาร การจัดสอบทั้งหมด ให้ตัวแทนศูนย์สอบ 1.10 นำเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้บรรจุใส่ซองเอกสาร ส่งศูนย์สอบ- ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) แผ่นที่ระบุสนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ- ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) / แบบคำขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) (ถ้ามี)- บัญชีรับ-ส่งแบบทดสอบระหว่างหัวหน้าสนามสอบกับกับกรรมการคุมสอบ (V-NET 1)- บัญชีส่งกระดาษคำตอบและเอกสารฯ จากหัวหน้าสนามสอบถึงศูนย์สอบ (V-NET 2)- ใบสำคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ปฏิบัติงานประจำสนามสอบ- เอกสารกำกับการเปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบ (V-NET 10) - รายงานผลการปฏิบัติงานการจัดสอบ V-NET ระดับสนามสอ-เอกสารหรือหลักฐานอื่นๆ (ถ้ามี)

  31. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 2. หัวหน้าตึก 2.1 ประสานงานกับหัวหน้าสนามสอบ 2.2 รับผิดชอบเกี่ยวกับการรับ-ส่งแบบทดสอบ ระหว่างกองกลางของสนามสอบกับกรรมการคุมสอบ 2.3 ควบคุมความเรียบร้อยภายในตึก หรืออาคารที่รับผิดชอบ โดยให้ดำเนินการตามนโยบายที่ สทศ.กำหนด 2.4ห้ามผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสอบเข้ามาในบริเวณตึกหรืออาคารที่ทำการสอบ

  32. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) หัวหน้าตึก (ต่อ) 2.5 รายงานต่อหัวหน้าสนามสอบ ในกรณี- กรรมการคุมสอบไม่เพียงพอ- ผู้เข้าสอบมาผิดสนามสอบ- มีการทุจริตในห้องสอบ- ผู้เข้าสอบได้รับความไม่สะดวก- ผู้เข้าสอบเจ็บป่วย- กรรมการคุมสอบบกพร่องต่อหน้าที่หรือประพฤติไม่เหมาะสม

  33. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 3. กรรมการกลาง 3.1 แจกซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) ของวิชาที่สอบตามตารางสอบ ให้กรรมการคุมสอบ(ห้ามแจกซองแบบทดสอบและกระดาษคำตอบวิชาที่ยังไม่สอบให้กรรการคุมสอบนำไปเก็บไว้) 3.2 รับซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และ สทศ.2 หลังเสร็จสิ้นการสอบของแต่ละวิชา ตรวจความเรียบร้อยและนับจำนวนกระดาษคำตอบให้ครบทั้งผู้เข้าสอบและขาดสอบก่อนปิดผนึกซองกระดาษคำตอบ และปิดทับด้วยเทปกาวพิเศษ ต่อหน้ากรรมการคุมสอบ

  34. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 3.3 บริการผู้เข้าสอบที่ขอแก้ไขข้อมูล (ให้เขียนแบบ สทศ.6) 3.4 กรรมการกลางเดินตรวจความเรียบร้อยระหว่างการสอบ

  35. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 4. กรรมการคุมสอบ 4.1 อ่านคู่มือการจัดสอบฯ สำหรับสนามสอบและกรรมการคุมสอบ และ ดู DVD การจัดสอบให้เข้าใจ 4.2 รับ-ส่งซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) ของวิชาที่สอบตามตารางสอบ จากหัวหน้าสนามสอบ หรือกรรมการกลาง 4.3ดูแลความเรียบร้อยของห้องสอบ และบริเวณใกล้เคียง เพื่อให้การสอบเป็นไปอย่างยุติธรรมและโปร่งใส 4.4กำกับการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส และปฏิบัติตามคู่มือการจัดสอบฯ อย่างเคร่งครัด 4.5รายงานการคุมสอบต่อหัวหน้าสนามสอบ/กรรมการกลาง

  36. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 5. นักการ ภารโรง 5.1 จัดเตรียมป้ายประชาสัมพันธ์การสอบ และสถานที่สำหรับการจัดสอบ 5.2 ดำเนินการจัดห้องสอบตามผังประกาศรายชื่อผู้เข้าสอบ 5.3 ดำเนินการตามที่หัวหน้าสนามสอบมอบหมาย

  37. 5. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบ (ต่อ) 6. เจ้าหน้าที่ตำรวจ ตรวจสอบและทำให้เกิดความเรียบร้อยในสนามสอบ 7. กรรมการอื่น ๆ ( พยาบาล ปชส. ดูแลรักษาแบบทดสอบ งานที่หัวหน้าสนามสอบมอบหมาย)

  38. 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ 1. รายงานตัวต่อหัวหน้าสนามสอบก่อนเวลาสอบ 30 นาที 2. รับซองแบบทดสอบ + ซองกระดาษคำตอบ + สทศ.2 (ลงชื่อรับในบัญชีรับ-ส่งแบบทดสอบ) ( V-NET 1) 3. ตรวจสอบความเรียบร้อยภายในห้องสอบ 4.ก่อนเวลาสอบ 15 นาทีตรวจบัตรหรือหลักฐานแสดงตนของผู้เข้าสอบ ก่อนอนุญาตให้เข้านั่งที่โต๊ะตามเลขที่นั่งสอบของตนเอง

  39. 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ (ต่อ) 5. อธิบายประกาศ สทศ.เรื่องข้อปฏิบัติสำหรับผู้เข้าสอบ (5 ข้อ)และระเบียบการเข้าห้องสอบ (7 ข้อ) 6.ก่อนเวลาสอบ 10 นาที ให้ผู้เข้าสอบ 2 คน เป็นตัวแทนลงชื่อรับรองความเรียบร้อยของซองแบบทดสอบ ใน สทศ.2 ทั้ง 2 แผ่น 7. แจกกระดาษคำตอบ (สทศ.1) ให้ตรงกับผู้เข้าสอบ เป็นรูปตัว Uย้ำให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องว่าเป็นของตนเองเท่านั้น และให้ลงลายมือชื่อบน สทศ.1 (ด้วยปากกาหมึกดำ/น้ำเงิน)

  40. หน้าห้อง โต๊ะกรรมการ 1 1 12 13 24 25 2 11 14 23 26 3 10 15 22 27 4 9 16 21 28 5 8 17 20 29 6 7 18 19 30 โต๊ะกรรมการ 2 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ (ต่อ) แจก และ เก็บ เป็นรูปตัว U ตามแผนผังที่นั่งสอบ

  41. การใช้กระดาษคำตอบสำรองการใช้กระดาษคำตอบสำรอง • กรณีกระดาษคำตอบไม่ตรงกับผู้เข้าสอบหรือชำรุด- แจกกระดาษคำตอบสำรอง พร้อมลงชื่อกำกับบนกระดาษคำตอบก่อนแจกผู้เข้าสอบ (ให้ผู้เข้าสอบกรอกข้อมูลด้วยปากกา และระบายวงกลมด้วย 2B ให้สมบูรณ์) • กรณีนักเรียนเข้าสอบกรณีพิเศษ (ผู้ที่ไม่มีชื่อใน สทศ.2 และมีเลขที่นั่งสอบที่ออกโดย สทศ.) - ให้กรรมการคุมสอบระบายในกระดาษคำตอบสำรอง ตรงช่อง “ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ” พร้อมลงชื่อกำกับก่อนแจกให้ผู้เข้าสอบ

  42. 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ (ต่อ) • แจกแบบทดสอบตามลำดับเลขที่นั่งสอบ เป็นรูปตัว U และให้เขียนชื่อ – สกุล เลขที่นั่งสอบบนปกแบบทดสอบ 9. เมื่อถึงเวลาสอบให้ผู้เข้าสอบตรวจสอบความเรียบร้อยของแบบทดสอบ (จำนวนหน้า จำนวนข้อ) และประกาศให้ลงมือทำข้อสอบ (ให้ระบายคำตอบด้วยดินสอ 2B เท่านั้น) 10.หลังจากเริ่มสอบผ่านไป 30 นาที เก็บแบบทดสอบ และกระดาษคำตอบของนักเรียนที่ขาดสอบกลับคืน และให้ผู้เข้าสอบลงชื่อใน สทศ.2 ทั้ง 2 ใบ

  43. กรณีมีผู้ขาดสอบ ให้ใช้ดินสอดำ 2B ระบาย “ข” บนหัวกระดาษคำตอบตรงช่อง “กรณีขาดสอบ” และให้เขียนคำว่า -ขาดสอบ- ด้วยปากกาหมึกแดงลงในช่องเซ็นชื่อผู้เข้าสอบใน สทศ.2 ทั้ง 2 แผ่น • กรณีกระดาษคำตอบไม่ตรงกับผู้เข้าสอบหรือชำรุด ให้ใช้ดินสอ 2B ระบาย “ย” บนหัวกระดาษคำตอบตรงช่อง “กรณียกเลิกกระดาษคำตอบ” และลงลายมือชื่อ แล้วเก็บส่ง สทศ. โดยบรรจุใส่ซองกระดาษคำตอบเรียงต่อจากกระดาษสำรองที่ผู้เข้าสอบคนนั้นใช้

  44. ห้ามกรรมการคุมสอบ แก้ไขแบบทดสอบหรืออธิบายเพิ่มเติมจากแบบทดสอบ (เว้นแต่ได้รับแจ้งจากหัวหน้าสนามสอบ) • ห้ามกรรมการคุมสอบ ทำกิจกรรมอื่นที่อาจทำให้เกิดความเสียหายต่อการสอบ (คุยโทรศัพท์ คุยเสียงดัง ทำงานส่วนตัว อ่านหนังสือ ฯลฯ) • กำกับการสอบในห้องตลอดเวลา เว้นมีเหตุจำเป็น ต้องมีกรรมการอย่างน้อย 1 คนอยู่ในห้องสอบ

  45. 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ (ต่อ) 11. ประกาศให้ผู้เข้าสอบทราบเมื่อเวลาสอบผ่านไป 1 ชั่วโมงและ ก่อนหมดเวลาสอบ 5 นาที 12. เมื่อหมดเวลาสอบ ประกาศให้ผู้เข้าสอบหยุดทำข้อสอบ วางดินสอ หรือ ปากกา และห้ามผู้เข้าสอบลุกจากที่นั่ง 13. ตรวจสอบความเรียบร้อยของการเขียนข้อมูล ที่ปกแบบทดสอบ ที่หัวกระดาษคำตอบ และการระบายเลขที่นั่งบนกระดาษคำตอบและแบบทดสอบให้ถูกต้อง ก่อนอนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบ

  46. 6. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ (ต่อ) • กรรมการคนที่ 1 เก็บแบบทดสอบ กรรมการคนที่ 2 เก็บกระดาษคำตอบ 15. รวบรวมและนับจำนวนกระดาษคำตอบทั้งหมด ทั้งของผู้เข้าสอบและขาดสอบ เรียงลำดับจากเลขที่นั่งสอบน้อยไปมาก แล้วหุ้มด้วย สทศ.2 (แผ่นที่ระบุศูนย์สอบส่งคืน สทศ.) ใช้กระดาษแข็งประกบด้านบน - ล่าง

  47. กรณีที่มีการยกเลิกกระดาษคำตอบ ให้นำกระดาษคำตอบที่ยกเลิกมาเรียงต่อกระดาษคำตอบสำรองของผู้เข้าสอบคนนั้นใช้ • กรณีมีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ ให้เรียงกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบจากหมายเลขที่นั่งน้อยไปหามาก แล้วหุ้มด้วยใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ ( สทศ.3) แล้วบรรจุลงในซองกระดาษคำตอบในห้องสอบสุดท้ายของสนามสอบ

  48. 16. บรรจุกระดาษคำตอบลงซองกระดาษคำตอบ และกรอกข้อมูลหน้าซองกระดาษคำตอบให้เรียบร้อยโดยยังไม่ต้องปิดผนึกซอง 17. นำซองกระดาษคำตอบซึ่งบรรจุ สทศ.2 (ที่ใช้หุ้มกระดาษคำตอบ) + ซองแบบทดสอบ + สทศ.2 ที่เหลือ 1 แผ่น (แผ่นที่ระบุสนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ) ส่งหัวหน้าสนามสอบ / กรรมการกลาง ลงชื่อส่งกระดาษคำตอบในบัญชีรับส่งแบบทดสอบ (V-NET 1)หลังจากหัวหน้าสนามสอบ / กรรมการกลาง ตรวจนับกระดาษคำตอบและเอกสารถูกต้องแล้วจากนั้นกรรมการกลางจะปิดผนึกและปิดทับด้วยเทปกาวพิเศษ

  49. 7. การรับ-ส่งแบบทดสอบ กระดาษคำตอบและเอกสารการสอบ • สทศ. จะบรรจุซองแบบทดสอบ และ ซองกระดาษคำตอบ ลงในกล่องแยกกันตามจำนวนห้องสอบของแต่ละสนามสอบ • หัวหน้าสนามสอบรับ กล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบ และกล่องใส่ซองกระดาษคำตอบกลับ จากศูนย์สอบ และเก็บรักษาให้ปลอดภัย (หรือตัวแทนศูนย์สอบนำไปตอนเช้าวันสอบ) • หัวหน้าสนามสอบส่ง กล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบ กล่องแบบทดสอบ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบ ไปยังศูนย์สอบตามกำหนดนัดหมาย

More Related