1 / 24

สถานการณ์การจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒ และทิศทางในอนาคต

นางสาวเพ็ญแข ศรีสุทธิกุล ผู้อำนวยการสถาบันการพัฒนาชุมชน. สถานการณ์การจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒ และทิศทางในอนาคต. สถานการณ์การ จัดการ ความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒. ปี ๒๕๔๙. สำนักส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. หน่วยเจ้าภาพหลัก. การจัดการความรู้เศรษฐกิจฐานราก.

Télécharger la présentation

สถานการณ์การจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒ และทิศทางในอนาคต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นางสาวเพ็ญแข ศรีสุทธิกุล ผู้อำนวยการสถาบันการพัฒนาชุมชน สถานการณ์การจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒ และทิศทางในอนาคต

  2. สถานการณ์การจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชนปี พ.ศ.๒๕๔๙ – ๒๕๕๒

  3. ปี ๒๕๔๙ สำนักส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน หน่วยเจ้าภาพหลัก การจัดการความรู้เศรษฐกิจฐานราก ขอบเขต KM -การจัดการทุนชุมชน -การปฏิบัติงานของ นักพัฒนา -อาชีพ/รายได้ชุมชน -การจัดการวิสาหกิจฯ -อื่นๆ ความรู้ที่จัดเก็บ

  4. 1.มีผู้เอื้ออำนวยกระบวนการจัดการความรู้ รวม 44 คน เป็นข้าราชการ ส่วนกลาง ได้แก่ กรมฯ และศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตทั้ง 12 แห่งทั่วประเทศ 2.เกิดเครือข่ายจัดการความรู้ 1 เครือข่าย ได้แก่ เครือข่ายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก มี สมาชิกทั้งสิ้น 53 คน 3.มีบทเรียนจากการจัดเก็บความรู้ 6 หมวด ได้แก่ การจัดการทุนชุมชน ส่งเสริมอาชีพและรายได้ชุมชน การจัดการวิสาหกิจชุมชน การปฏิบัติงานของนักพัฒนาภาคประชาชน ทั้งที่เป็นเอกสารและ Clip VDO รวมทั้งสิ้น 103 เรื่อง จัดเก็บเป็นคลังความรู้ใน WWW.CEP.GO.TH ผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงาน ปี ๒๕๔๙

  5. ปี ๒๕๕๐ สำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน หน่วยเจ้าภาพหลัก การจัดการความรู้หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็น เป็นสุข ขอบเขต KM • วิธีปฏิบัติงานของ จนท. • ความสำเร็จของชุมชน • ผู้นำหมู่บ้าน • ผู้นำ มชช.ผู้นำสตรี • /ออมทรัพย์/อาชีพ/ศอช. ความรู้ที่จัดเก็บ

  6. 1.ได้บทเรียนเฉพาะตัว (Tacit Knowledge) ของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ในระดับพื้นที่ (ส่วนภูมิภาค) 2.ความรู้จากความสำเร็จของผู้นำชุมชน ได้แก่ ผู้นำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็น เป็นสุข ผู้นำที่ผ่านระบบมาตรฐาน มชช. เป็นต้นรวมทั้งมีการดำเนินการบันทึกภูมิปัญญา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ตามโครงการ คน พช.รวมพลังทำความดีถวายพระเจ้าอยู่หัว 3.ความรู้ที่จัดเก็บบันทึกไว้เผยแพร่ โดยผ่านช่องทางhttp://cddweb.cdd.go.th/chumchon ผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๐

  7. ปี ๒๕๕๑ กองวิชาการและแผนงาน หน่วยเจ้าภาพหลัก 1.การมีส่วนร่วมของ ปชช.ในการจัดทำแผนชุมชนฯ 2.การส่งเสริมและพัฒนากลุ่มออมทรัพย์ฯ 3.การขับเคลื่อนปรัชญา ศก.พอเพียงฯ 4.การส่งเสริมและพัฒนาOTOP ขอบเขต KM • การขับเคลื่อนแผนชุมชน • การยกระดับกลุ่มออม • ทรัพย์ฯจาก ๒ เป็น ๓ • -บทเรียนจาก จนท.(ศก.พอเพียง) • การจัดแสดงและจำหน่ายOTOP ความรู้ที่จัดเก็บ

  8. 1) ส่งเสริม สนับสนุนให้จัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย กรมการพัฒนาชุมชน 2) แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายการศึกษาวิจัย 3) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ ศพช.เขต 1-12 และกองวิชาการและแผนงาน ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนางานพัฒนาชุมชน 17 เรื่อง 4) แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำคลังความรู้และคณะทำงานจัดการความรู้ (คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชนที่ 229/2551 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2551) 5) สนับสนุนให้ปรับปรุง Web site KM CD และได้นำองค์ความรู้มาจัดพิมพ์เอกสารเพื่อเผยแพร่ และใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนในพื้นที่ สำหรับช่องทางการเผยแพร่ความรู้ ใช้ผ่าน www.cdd.go.th ผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๑

  9. การจัดเก็บความรู้เพื่อการนำไปปฎิบัติงานในปัจจุบันการจัดเก็บความรู้เพื่อการนำไปปฎิบัติงานในปัจจุบัน

  10. วิเคราะห์สถานการณ์ KM กรมฯที่ผ่านมา(ปี ๔๙ -๕๒)

  11. วิเคราะห์สถานการณ์ KM กรมฯที่ผ่านมา(ปี ๔๙ -๕๒) จุดแข็ง -กรมฯมีองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนจำนวนมาก -มีบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะด้านการพัฒนาชุมชนหลากหลาย -กรมฯให้ความสำคัญกับการจัดการความรู้โดยกำหนด เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ ใน ๖ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ -มีผู้รับผิดชอบภารกิจด้านการจัดการความรู้ชัดเจน มีระบบเทคโนโลยีรองรับที่มีประสิทธิภาพ -มีบุคลากรครอบคลุมในการปฏิบัติงาน KM ได้ทั่วประเทศ

  12. จุดอ่อน • - บุคลากรที่มีความชำนาญด้านKMมีน้อย • - ขาดแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ที่ชัดเจน • - การจัดเก็บความรู้ยังกระจัดกระจาย(ตามองค์กรต่างๆ) • - บุคลากรบางส่วนไม่เข้าถึงองค์ความรู้ • - มุ่งจัดการความรู้ของชุมชนในสัดส่วนที่มากกว่าความรู้ในองค์กร • - คณะทำงานเปลี่ยนแปลงบ่อย • หลายกิจกรรมด้านKMขาดการเชื่อมโยง บูรณาการร่วมกัน • บุคลากรมีความเข้าใจKMไม่เหมือนกัน • ขาดคู่มือจัดการความรู้ที่เป็นแนวทางเดียวกันทั้งกรมฯ • ขาดการนำ KM ไปพัฒนางาน

  13. โอกาส - กรมฯปรับโครงสร้างกำหนดหน่วยปฏิบัติชัดเจนขึ้น - PMQAหมวด ๔ กำหนดให้มีแผนการจัดการความรู้และนำสู่การปฏิบัติ - มีหน่วยงานภาคีให้การสนับสนุนด้านวิชาการ - ผู้บริหารและคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์กำหนด เป็นประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ - มีหลายหน่วยงานที่เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  14. ข้อจำกัด -บุคลากรในส่วนภูมิภาคมีความรู้ ในการจัดการความรู้น้อย -เครื่องมือการจัดเก็บและบันทึกความรู้มี รูปแบบแตกต่างไม่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน -งบประมาณในการขับเคลื่อน KM ทั้งระบบไม่มี

  15. การจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน ในปี ๒๕๕๒

  16. การจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๒ ขอบเขตการจัดการความรู้ (KM Focus Area) ประจำปี 2552 ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมดประกอบด้วย 1) การพัฒนาทุนชุมชน (โครงการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน) 2) การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง (โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ/ โครงการจัดตั้งศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร) 3) ส่งเสริมการจัดการความรู้ของชุมชน (โครงการสร้างระบบการจัดการความรู้ของชุมชน : ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเชิงคุณภาพ)

  17. 1. ปรับปรุง/แต่งตั้งคณะทำงานกลุ่มภารกิจด้านการจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชนให้เป็นปัจจุบัน(คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชน ที่ ๒๑๑ /๒๕๕๒ ลงวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๒ แต่งตั้ง คณะทำงานกลุ่มภารกิจด้านการจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน ) 2. ประชุมคณะทำงานกลุ่มภารกิจด้านการจัดการความรู้เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ที่ผ่านมาและกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการจัดการความรู้ ปี ๒๕๕๒(วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ) 3. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้และแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ตามประเด็นยุทธศาสตร์(ได้รับการอนุมัติ/เห็นชอบจาก CKOและCEO แล้ว) ผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี๒๕๕๒

  18. 4. แต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อขับเคลื่อนการจัดการความรู้ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1) คณะทำงานกลั่นกรองและจัดระบบองค์ความรู้ 2)คณะทำ งานจัดการความรู้ ประกอบด้วยคณะทำงานย่อย -คณะทำงานจัดการความรู้ด้านการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน -คณะทำงานจัดการความรู้ด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน -คณะทำงานจัดการความรู้ด้านการพัฒนาทุนชุมชน -คณะทำงานจัดการความรู้ด้านการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 3) คณะทำงานพัฒนาคลังความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้ ผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี๒๕๕๒(ต่อ)

  19. 5. ดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ ประจำปี ๒๕๕๒ -โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน ปี๒๕๕๒ ระหว่างวันที่ ๕-๗ สิงหาคม ๒๕๕๒ -โครงการ KM DELIVERY การจัดการความรู้ส่งตรงถึงที่ - การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้กับหน่วยงานภายนอก(การแลกเปลี่ยนความรู้และข้อค้นพบจากงานวิจัย ร่วมกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๓๐-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ณ ธรรมเกษตร อ.เมืองฯ จ.ปราจีนบุรี) - เปิดช่องทางการสื่อสารKM ๓ ช่องทาง ผ่านคลังความรู้สถาบันการพัฒนาชุมชน • และWWW.GOTOKNOW.ORG ผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ปี๒๕๕๒(ต่อ)

  20. คลังความรู้สถาบันการพัฒนาชุมชนคลังความรู้สถาบันการพัฒนาชุมชน

  21. กิจกรรมขยายช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของKMกรมฯเชิญร่วมเรียนรู้ทางWWWกิจกรรมขยายช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของKMกรมฯเชิญร่วมเรียนรู้ทางWWW http://gotoknow.org/blog/kmcdd http://gotoknow.org/blog/kukiat

  22. 1. คณะทำงานจัดการความรู้ทุกคณะจัดทำแผนปฎิบัติการจัดการความรู้รายคณะและส่งแผนฯให้สถาบันการพัฒนาชุมชน ภายในวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๒ 2. คณะทำงานจัดการความรู้ทุกคณะดำเนินงานตามแผนและรายงานผลให้CKOทราบโดยผ่านสถาบันการพัฒนาชุมชน(ฝ่ายเลขาคณะทำงานกลุ่มภารกิจด้านการจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน) แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 สิงหาคม ๒๕๕๒ -จัดเก็บความรู้ -รวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์ -รายงานผล 3. สถาบันการพัฒนาชุมชน(ฝ่ายเลขาคณะทำงานกลุ่มภารกิจด้านการจัดการความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน)จัดส่งความรู้ที่จัดเก็บให้คณะทำง่านกลั่นกรองฯ พิจารณาตรวจสอบและส่งให้ศูนย์สารสนเทศฯเพื่อจัดเก็บในคลังความรู้กรมฯและเผยแพร่ต่อไป สิ่งที่ต้องดำเนิงานตามแผนการจัดการความรู้ ปี๒๕๕๒

  23. ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนกับการจัดการความรู้ ปี ๒๕๕๒ ๑.ออกแบบ/จัดโครงสร้างการบริหารองค์ความรู้ในรูปคณะทำงานของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ๒.จัดทำแผนการจัดการความรู้ในความรับผิดชอบโดยใช้แผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๑-๒๕๕๒ เป็นแผนแม่บท ๓.จัดทำและพัฒนาคลังความรู้/ฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ๔.ขยายช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ที่บันทึกได้ในรูปแบบ IT และหรือตามความเหมาะสม ๕.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามความเหมาะสม ๖.รายงานผลการดำเนินงานให้สถาบันการพัฒนาชุมชนเป็นระยะ

More Related